Page 19 - 7.Big Data Application on Digital Marketing
P. 19

หลักการประยุกต์ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ด้านดิจิทัลมาร์เก็ตติ้งออนไลน์ในอุตสาหกรรม S-curve ของประเทศไทย |
                                                                                                         |  18









































                                     รูปที่ 1.9  กลุมเทคโนโลยีที่ชวยขับเคลื่อนอุตสาหกรรม
                      [ที่มา. ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579 กระทรวงอุตสาหกรรม ]


                       1.8.1 กลุมอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ (Food, Agriculture & Bio-Tech
                       เปนการใชเทคโนโลยีทางดานการเกษตร (Agritech เทคโนโลยีอาหาร ( Foodtech เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมที่

               ใชวัตถุดิบจากชีวภาพ หรือมีการแปรรูปวัสดุชีวภาพ ไดแก อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม การเกษตรแปรรูป ซึ่งมีการใช
               วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร ซึ่งตัวอยางแนวโนมของเทคโนโลยีในกลุมคลัสเตอรนี้ ไดแก
               การใชเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology ในการปรับปรุงพันธุพืช พันธุสัตว การพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร การพัฒนาอาหาร
               เพื่อสุขภาพ และการใชชีววิทยาสังเคราะห และกลุมอุตสาหกรรมชีวภาพ เชน เชื้อเพลิงชีวภาพ และเคมีชีวภาพ เปนตน


                       1.8.2 กลุมสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย (Health, Wellness & Bio-Med

                       การใชเทคโนโลยีสุขภาพ (Healthtech เทคโนโลยีการแพทย ( Meditech ในการผลิตสินคาและบริการดานสุขภาพ
               เชน ยา สมุนไพร อาหารเสริม อุปกรณทางการแพทย และการบริการทางการแพทยและสาธารณสุข ซึ่งจะตองมีการพัฒนา
               ทางดานผลิตภัณฑและบริการตาง ๆ ใหไดมาตรฐาน และพัฒนาเทคโนโลยีทางดานการแพทย ทั้งในแงของอุปกรณและ
               มาตรฐานของการบริการ โดยแนวโนมของเทคโนโลยีในกลุมคลัสเตอรนี้ ไดแก การสรางอุปกรณเครื่องมือการแพทยระดับนา

               โน เทคโนโลยีการตรวจวัดสุขภาพผานอุปกรณสวมใส (Wearable devices  การพิมพแบบ 3 มิติ ซึ่งสามารถชวยในการ
               รักษาและฟนฟูอวัยวะหรือเนื้อเยื่อตาง ๆ ของรางกายได







                 INTRODUCTION TO IOT ANALYTICS USING HADOOP                                        สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุนยนต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24