Page 1158 - บทคดยอการทดลองสนสด 58 สมบรณ_Neat
P. 1158

และ 6 ต้นมีน้อยกว่า ซึ่งต้องใส่เพิ่ม 16.7 - 141.3 กรัมต่อต้น ส่วนโพแทสเซียมในดินมี 44.8 - 218.3

                       มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เท่ากับโพแทสเซียมในรูป K O จำนวน 54.2 - 264.1 กรัมต่อต้น จึงต้องมีการเพิ่ม
                                                               2
                       โพแทสเซียมในรูป K O จำนวน 35.9 - 245.8 กรัมต่อต้น
                                       2
                              ส่วนปี 2558 มีไนโตรเจน 0.03-0.07 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเท่ากับปริมาณไนโตรเจน 2.11 - 4.91 กรัม

                       ต่อต้น จะต้องใส่ไนโตรเจนเพิ่ม 295.1 - 297.9 กรัมต่อต้น สำหรับฟอสฟอรัสมีในดิน 20.4 - 201.3
                       มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งเท่ากับ ฟอสฟอรัสในรูปของ P O  46.7 - 461.0 กรัม ปริมาณฟอสฟอรัสที่มีอยู่
                                                                    2 5
                       ในดินนี้ของ 8 ต้น มีมากกว่าที่แนะนำ ซึ่งมีมากกว่าตั้งแต่ 1.1 - 161.0 กรัมต่อต้น และ 32 ต้นมีน้อยกว่า

                       ซึ่งต้องใส่เพิ่ม 37.3 - 253.3 กรัมต่อต้น ส่วนโพแทสเซียมในดินมี 25.9 - 132.9 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
                       เท่ากับโพแทสเซียมในรูป K O จำนวน 31.3 - 160.8 กรัมต่อต้น จึงต้องมีการเพิ่มโพแทสเซียมในรูป K O
                                                                                                          2
                                             2
                       จำนวน 139.2 - 268.7 กรัมต่อต้น

                              เนื่องจากไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ในดินที่ปลูกลองกองที่ศูนย์วิจัยพืชสวนตรัง
                       มีปริมาณต่ำมาก ดังนั้นปริมาณไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P O ) และโพแทสเซียม (K O) ที่ใช้เท่ากับ
                                                                          2 5
                                                                                                2
                       ปริมาณที่แนะนำในปี 2556 เก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 33 ต้น มีน้ำหนัก 15 - 95 กิโลกรัมต่อต้น ปี 2557
                       เก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 29 ต้น ได้ต้นละ 15 - 50 กิโลกรัม และปี 2558 เก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 28 ต้น ผลผลิตที่

                       เก็บเกี่ยวได้มีน้ำหนักตั้งแต่ 5 - 55 กิโลกรัมต่อต้น
                       6. การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์

                              การใส่ปุ๋ยตามความต้องการของพืช โดยใช้ปริมาณธาตุอาหารที่ได้จากการวิเคราะห์ปริมาณธาตุ

                       อาหารในดินเป็นตัวบ่งชี้ปริมาณธาตุอาหารที่ต้องใส่เพิ่ม เป็นการใส่ปุ๋ยที่สามารถลดต้นทุนการผลิตได้
                       และไม่ทำให้ธาตุอาหารเหลือค้างอยู่ในดินเป็นจำนวนมาก ซึ่งอาจจะเป็นอันตรายต่อพืช และการใส่ปุ๋ย

                       ตามค่าวิเคราะห์ดินก็ไม่ได้ทำให้ผลผลิตลดลงทั้งปริมาณและคุณภาพ จึงควรที่จะเผยแพร่ และกระตุ้นให้

                       เกษตรกรผู้ปลูกลองกองได้นำไปใช้







































                                                           1091
   1153   1154   1155   1156   1157   1158   1159   1160   1161   1162   1163