Page 27 - แหล่งเรียนรู้ตำบลนาแก
P. 27
การสานกระติ๊บข้าว
ชื่อภูมิปัญญาท้องถิ่น : นายเอก น้อยสีมุม
สถานที่ตั้ง : 123 หมู่ที่ 1 บ้านต้นแหน ต าบลนาแก อ าเภอนาแก จังหวัด
นครพนม 48130
องค์ความรู้ : ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคที่มีมรดกทางวัฒนธรรมเก่าแก่มาเนิ่นนานและยังคงรักษาสืบทอด
มาจนถึงปัจจุบัน โดยมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของเครื่องจักสานในภูมิภาคนี้ คือในด้านวัตถุดิบ ความถนัดของช่างฝีมือจัก
สาน ขนบธรรมเนียม สภาพแวดล้อมต่างๆ เป็นต้น และเครื่องจักสานที่ส าคัญในภาคเหนือได้แก่ ก๋วย ซ้งหวด ก่องข้าว
กระติ๊บข้าว ขันโตก กระบุง กระจาด ตะกร้า และเครื่องจักสานประเภทจับสัตว์น้ า เป็นต้น ดังนั้นความเข้าใจใน
ธรรมชาติและสามารถเลือกสรรคุณสมบัติเด่นของพันธุ์ไม้บางชนิด เช่น หวาย ไผ่ กก มะพร้าว ปอป่าน ลาน ย่านลิเภา
และคลุ้มเป็นต้น น ามาดัดแปลงใช้ประโยชน์ด้วยการจักสาน หรือถัก ทอ เพื่อประสานลวดลายติดต่อกันให้เป็นแผ่นใหญ่
แล้วจึงแปรสภาพเป็นภาชนะจักสานที่มีรูปร่างต่างๆมากมาย
กระบวนการ : วัสดุ
1. ไม้ไผ่ตง
2. มีดเหลาไม้
วิธีการ
1. น าไม้ไผ่ จ านวน 1 บ้อง จ านวน 1 บ้อง แล้วมาจักตอก
2. ขูดตอกเป็นเส้นเล็ก ๆ จ านวน 180 เส้น ใช้ส าหรับท าฝากระติบ
3. เริ่มด้วยการสานลาย 3 (ยก 3 ข้าม 3) ลาย 2 และลายคลุบ (ยก 2 วาง 2ให้คว่ า 3 เส้น) สาน
สลับกันไปเรื่อย ๆ ใช้เส้นตอกประมาณ ๘๗ เส้น ฝาของของกระติบข้าวสานลายตะแหล่วห้อก้นของกระติบ
ข้าว จะสานลายขัดธรรมดา จะมีขนาดใหญ่ กลาง เล็ก
4. น าไปตากแดด ประมาณ 2 - 3 วัน เพื่อป้องกันไม่ให้มอดกัดไม้และตัวกระติกจะยุบตัว ถ้าไม่ได้
ตากแดดให้เต็มที่
แนวคิด
1. ท าไว้ใช้ในบ้าน
2. สร้างรายได้ให้ครอบครัว