Page 87 - ไม้แกะสลักล้านนา ปูมผญาสล่าเมือง
P. 87
- พ.ศ. ๒๕๔๔ หน่วยราชการได้ส่งเสริมให้มีการ อนุรักษ์ภมู ปิ ญั ญาอาชพี การแกะสลกั ไมแ้ ละหตั ถกรรม โดยมกี าร ฝึกสอนอบรมการพัฒนาฝีมือและเพิ่มทักษะให้ผลิตภัณฑ์ สินค้าได้มาตรฐานสสู่ ากล จนบา้ นกวิ่ แลนอ้ ยไดร้ บั เลอื กใหเ้ ปน็ ผลติ ภณั ฑ์ “หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์” ใน พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้รับ ตราสัญลักษณ์ เชียงใหม่แบรนด์ จากสานักงานพาณิชย์จังหวัด เชียงใหม่
- พ.ศ ๒๕๔๗ ได้เข้ารับคัดสรรสุดยอด หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ได้รับระดับสามดาว ดังนี้
๑. ชา้ งอริ ยิ าบถลลี า ของสหกรณห์ ตั ถกรรมผลติ ภณั ฑไ์ ม้ จา กดั
๒. แผ่นภาพกินรา กินรี ของนางอาพรรณ มูลคา
๓. ชา้ งครอบครวั คลอดลกู ดดู นม ของนางศวิ พร ทองจา่ ม ๔. กรอบรูปภาพช้างป่า ของนางโสภา กันทะวงศ์
๕. แผ่นป้ายมงคลต่างๆ และแผ่นป้ายบอกสถานที่
ของนางสุรีย์ หลวงใจ
- พ.ศ. ๒๕๔๗–๒๕๔๘ บ้านกิ่วแลน้อยได้พัฒนาเป็น หมู่บ้านท่องเที่ยว
- พ.ศ. ๒๕๔๘ กรมการพัฒนาชุมชนได้สนับสนุนเรื่อง
การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ มกี ารอบรมพฒั นาความรเู้ รอื่ งแกะสลกั ไม้ การหาตลาด โดยเป็นลักษณะของกลุ่ม OTOP
- ในปงี บประมาณ ๒๕๔๘ ไดร้ บั งบประมาณยทุ ธศาสตร์ จงั หวดั ซีอีโอ จัดตั้งเป็น หมู่บ้านหัตถกรรมเพื่อการท่องเที่ยว (ต้นแบบ OTOP) ในการสร้างศูนย์ข้อมูลและแสดงผลิตภัณฑ์ และปรับสภาพแวดล้อมของชุมชนและภูมิทัศน์
- พ.ศ. ๒๕๖๒ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดลาปาง ได้ ดาเนินโครงการส่งเสริมเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ กลุ่มจังหวัด ภาคเหนือตอนบน ๑ กิจกรรมตามรอยอารยธรรมล้านนา เรื่อง ไม้แกะสลักล้านนา โดยดาเนินการจัดเก็บข้อมูล องค์ความรู้ อัตลักษณ์ วิถีชีวิต วัฒนธรรม ครูภูมิปัญญาไม้แกะสลักล้านนา และเผยแพร่ข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาต่อยอดอาชีพ ไม้แกะสลัก
สํานักงํานวฒันธรร
87
สล่าลุ่มน้าแม่ระมิงค์ บ้านกิ่วแลน้อย ตาบลบ้านแม อาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
การแกะสลักภาพนูนต่าของบ้านนกิ่วแลน้อย
มจงั หวดั ลําปําง
ไม้แกะสลักล้านนา ปูมผญาสล่าเมือง