Page 85 - ไม้แกะสลักล้านนา ปูมผญาสล่าเมือง
P. 85
ควํามเป็นมําของกํารแกะสลักไม้บ้ํานกิ่วแลน้อย
เดิมชาวบ้านกิ่วแลน้อยก็ทาเกษตรกรรมเช่นเดียวกับ หมู่บ้านทั่วไปในภาคเหนือ ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๙๗ นายบุญมี ทา้ วปนิ ตา ซงึ่ เปน็ คนบา้ นวดั ดาวดงึ สใ์ นเมอื งเชยี งใหม่ ไดแ้ ตง่ งาน และเขา้ มาตงั้ ถนิ่ ฐานในหมบู่ า้ นนี้ เนอื่ งจากมใี จรกั ในงานศลิ ปะ เปน็ทนุเดมิ จงึไดเ้รมิ่ฝกึฝนงานแกะสลกัไมด้ว้ยตนเองกอปรกบั เมอื่ กอ่ นนมี้ ตี อไมส้ กั มากมายตามปา่ ทา ให้ นายบญุ มี หรอื สลา่ บญุ มี ในเวลานนั้ สามารถทา งานสรา้ งครอบครวั ใหม้ รี ายได้ จากนน้ั จงึ ไดน้ า ความรเู้ กยี่ วกบั การแกะสลกั ไม้ โดยเฉพาะการแกะสลกั ชา้ ง เขา้มาเผยแพรใ่นชุมชน จนเกิดเป็นอาชีพช่างแกะสลักไม้ขึ้นใน พื้นที่
ต่อมากานันคาปัน ทองต้น เห็นว่าการแกะสลักไม้ สร้างรายได้ให้แก่ชุมชนจึงสนับสนุนโดยหาครูมาสอนเพิ่มเติม ใหแ้ กช่ าวบา้ น โดยสอนเกยี่ วกบั การแกะสลกั ลวดลายลงบนแผน่ ไม้ เช่น ลายไทย ลายวิถีชีวิต ลายช้าง และลายป่า เป็นต้น พ่อครู ที่มาสอนชาวบ้าน ได้แก่ พ่อครูใจ มโนแก้ว และ พ่อครูตา ธรรมรังสี ทา ใหผ้ ลงานแกะสลกั ไมบ้ า้ นกวิ่ แลนอ้ ยมคี วามสวยงาม และหลากหลายยงิ่ ขนึ้ นอกจากนยี้ งั มคี รทู สี่ า คญั อกี คนหนงึ่ ทอี่ ยู่ ในชมุ ชน คอื พอ่ หนานธงชยั กวิ่ แกว้ ซงึ่ เชยี่ วชาญเกยี่ วกบั การแกะ ลายพทุ ธประวตั แิ ละวรรณคดี โดยไดถ้ า่ ยทอดใหล้ กู ศษิ ยใ์ นชมุ ชน จา นวนมาก นบั แตน่ นั้ เปน็ ตน้ มาชา่ งแกะสลกั ไมข้ องบา้ นกวิ่ แลนอ้ ย ได้สร้างสรรค์ผลงานจนมีชื่อเสียงและได้รับการสนับสนุนจาก หน่วยงานต่างๆ จนได้รับเลือกให้เป็น “หมู่บ้านหัตถกรรมเพื่อ การท่องเที่ยวหรือหมู่บ้านต้นแบบ (OTOP)” ใน พ.ศ. ๒๕๔๘ ทั้งยังเป็นที่ตั้งของ “ศูนย์หัตถกรรมการแกะสลักไม้ของอาเภอ สันป่าตอง” อีกด้วย
85
สํานักงํานวฒันธรรมจงัหวดัลําปําง
การสร้างลายลงบนแผ่นไม้ ในงานนูนต่า
สล่าลุ่มน้าแม่ระมิงค์ บ้านกิ่วแลน้อย ตาบลบ้านแม อาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
ไม้แกะสลักล้านนา ปูมผญาสล่าเมือง