Page 32 - Flower Book
P. 32

พญากาหลง






        ชื่อพื้นเมือง         พญากาหลง/นางพญากาหลง


        ชื่อวิทยาศาสตร   Bauhinia Tomen Tosa Linn.
                            ์
                 ์
        ชื่อวงศ           LEGUMINOSAE

        ชื่อสามัญ           Yellow Bauhinia, Yellow Orchid Tree,

                              Yellow Butterfly Tree


        ชื่ออื่นๆ           ว่านพญากาหลง, ชงโคดอกเหลือง


                                   ู่
        ถิ่นก าเนิด           อยแถบเอเชียเขตร้อน การกระจายพันธุ์อยู่ใน
        ประเทศอินเดีย ศรีลังกา แอฟริกา อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย



       ลักษณะทางพฤกษศาสตร์


       ต้น  เป็นไม้ยืนต้นขนาดย่อม สูงประมาณ 3-4 เมตร แตกกิ่งก้านออกเป็นพุ่มทึบ

       ใบ  ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปค่อนข้างกลม ปลายเว้าลึกดูคล้ายใบชงโคหรือ

       ใบส้มเสี้ยว ด้านหลังมีขนเล็กน้อย


       ดอก ดอกช่อออกเป็นช่อสั้น ๆ อยู่ตามยอดหรือปลายกิ่ง หนึ่งช่อจะมีดอกประมาณ

       8 - 12 ดอก แต่จะบานครั้งละ 2 - 3  ดอก ดอกมีสีเหลืองอ่อน เกสรสีด า ดอกแก                     ่

       จะเปลี่ยนสีเป็นสีม่วงอ่อนและมีกลีบดอกประมาณ 6 กลีบ แต่ละกลีบจะเรียงซ้อน


       ชิดกัน และงองุ้มคว่ าหน้าเข้าหากัน ออกดอกตลอดปี

       ผล  เป็นฝักแบนมีขนอ่อนสีน้ าตาลปกคลุมอยู่หนาแน่น ปลายฝักแหลม ขนาดฝักมี

       ความกว้างประมาณ 1-1.5 ซม. ยาวประมาณ 7-15 ซม. เมื่อฝักแก่จะสามารถแตก

       ออกได้ ภายในฝักจะมีเมล็ดลักษณะกลมแบนสีน้ าตาล


       ประโยชน์  เป็นพืชประดับ ปลูกเป็นไม้ประดับตามอาคารบ้านเรือนและสถานท                        ี่

       ต่างๆ สรรพคุณทางยา ราก ใช้ต้มกับน้ าดื่มเป็นยาสมุนไพรเพื่อถ่ายพยาธิได้

       เปลือกต้น น ามาชงเป็นชาใช้กลั้วคอ ดอกใช้ต้มเป็นยาดื่มแก้อาการบิด หรือท้องร่วง

       ผล ใช้ต้มน้ าดื่มเป็นยาช่วยขับปัสสาวะ น้ ายางจากเมล็ดใช้ผสมกับน้ าส้มสายชูแล้ว


       น ามาทาแก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37