Page 3 - สรุปเนื้อหางานสัมมนาหัวข้อ - Go Thailand
P. 3

ต่าง ๆ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันในหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งล่าสุดได้มีการผ่านกฎหมายพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ

               พิเศษภาคตะวันออกแล้ว เพื่อชี้ให้เห็นถึงเป้าหมายในการพัฒนา
                       ส าหรับแนวทางที่ด าเนินการนั้นสามารถจ าแนกออกเป็นการพัฒนารถไฟความเร็วสูง รถไฟรางคู่ การ

               ท่องเที่ยว และโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ เช่น การพัฒนาท่าอากาศยานอู่ตะเภา การพัฒนาท่าเรือแหลมฉบัง การ

               พัฒนาท่าเรือมาบตาพุด ฯลฯ เพื่อรองรับการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกดังกล่าว


               ร.ต.ต.มนตรี ฤกษ์จ าเนียร ผู้อ านวยการท่าเรือแหลมฉบัง  เป็นผู้กล่าวในหัวข้อ “แผนขยายท่าเรือรองรับการ
               ลงทุน การส่งออกของไทย”

                       กล่าวถึงการพัฒนาท่าเรือแหลมฉบังว่ามีการพัฒนาต่อเนื่องมามากกว่า 20 ปี โดยเป็นการเชื่อมโยงทั้ง

               การค้าระหว่างประเทศและภายในประเทศ ทั้งพื้นที่ลุ่มน้ าต่าง ๆ และฝั่งตะวันตกของอ่าวไทย การพัฒนาท่าเรือ
               แหลมฉบังยังเป็นการเชื่อมต่อการขนส่งสินค้าทางรางให้เพิ่มมากขึ้น และส่งผลให้การขนส่งทางถนนลดน้อยลง

                       ทั้งนี้ มีการร่วมลงทุนกับภาคเอกชน (PPP) ที่ได้รับความสนใจแล้วไม่น้อยกว่า 10 ราย


               จเร รุ่งฐานีย รองผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทย  เป็นผู้กล่าวในหัวข้อ “รถไฟความเร็วสูง รถไฟรางคู่ จุด

               ดึงดูดการลงทุน”
                       กล่าวถึงการพัฒนาระบบขนส่งทางรางในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ว่าปัจจุบันโครงการ

               มีความคืบหน้ามากขึ้น รายละเอียดของโครงการรถไฟความเร็วสูงจะด าเนินการเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าเชื่อมท่า

               อากาศยาน (Airport Rail Link) โดยเชื่อมต่อกับท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มาจนถึงท่า
               อากาศยานอู่ตะเภา ผ่านสถานีส าคัญอื่น เช่น บางซื่อ พญาไท มักกะสัน ฯลฯ ซึ่งการเดินทางในเมืองในวิ่งด้วย

               ความเร็วสูงสุด 160 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แต่เมื่อผ่านท่าอากาศยานสุวรรณภูมิไปแล้วจะมีความเร็วสูงสุดถึง 240
               กิโลเมตรต่อชั่วโมง

                       ส่วนโครงการรถไฟรางคู่ปัจจุบันมีโครงการถึงศรีราชา และจะมีการขยายจากศรีราชาไปถึงระยอง เพื่อ

               เชื่อมต่อกับท่าเรือต่าง ๆ และท่าอากาศยานอู่ตะเภา เพื่อให้ความส าคัญกับการขนส่งสินค้า มีการลดต้นทุนการ
               ขนส่ง ซึ่งส่งผลให้ราคาสินค้าลดต่ าลง

                       นอกจากนี้ ยังมีโครงการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนจากบริเวณรถไฟรางคู่ที่ไปถึงระยองให้เข้าไปในพื้นที่
               เป้าหมายการพัฒนา เพื่อให้การขนส่งสินค้าไปยังเส้นทางรถไฟสายหลักเป็นไปอย่างสะดวกมากขึ้น เนื่องจากมีการ

               เชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนทางรางที่เป็นระบบรางคู่ ซึ่งผู้โดยสารยังสามารถเปลี่ยนถ่ายจากรถไฟความเร็วสูงได้


               อุษณีย์ แสงสิงแก้ว รักษาการกรรมการผู้อ านวยการใหญ่การบินไทย เป็นผู้กล่าวในหัวข้อ “ความพร้อมศูนย์ซ่อม

               บ ารุงอากาศยาน”
   1   2   3   4   5   6   7