Page 50 - SOCIETAL HAPPNESS SHAREing
P. 50
49
นายแพทย์ชาญวิทย์ วสันต์ธนารัตน์
ทุกวันนี้ไม่มีเอกชนกับสถาบันการศึกษาที่มีความสามารถในเชิงท�างาน
วิจัยมาท�างานร่วมกัน เกาหลีหรือญี่ปุ่น มหาลัยในต่างจังหวัดของเขาไม่ได้
เก่งกว่าเรา แต่เอกชนกับมหาลัยของเขาท�างานด้วยกันมากจนมีความ
เชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ จริงๆ ในเมืองไทยก็มีแต่กลุ่มเอกชนของเราไม่ได้มี
แนวคิดแบบนี้เลยไม่สามารถจะรวมกลุ่มกันเพื่อที่จะคุยกับมหาลัยในพื้นที่
ที่จะสามารถสนับสนุนได้ เพราะฉะนั้น เรื่อง R&D (Research and
Development) ส�าคัญมาก
ประเทศสิงคโปร์เขาอาจจะสู้เรื่องการเกษตรประเทศไทยไม่ได้ แต่เรื่อง
Bio Technology (เทคโนโลยีชีวภาพ) เหนือกว่าแน่นอน ความต้องการ
ของเอกชนกับความสามารถของสถาบันการศึกษาในเรื่องการท�า R&D
(Research and Development) ผมยังเชื่อว่าท�าคนเดียวไปไม่รอดยิ่งธุรกิจ
เล็กยิ่งยาก
ความคิดเห็นเพิ่มเติมจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม
เรื่องงานวิจัยที่บริษัทท�าค่อยข้างเยอะ เราท�าธุรกิจมา 10 กว่าปี
เราก็เน้นว่า พยายามการสร้างนวัตกรรมเราก็ไปร่วมกับสถาบันการศึกษา
ใช้โครงการของกระทรวงวิทยาศาสตร์ที่ท�าเรื่องการพัฒนานวัตกรรม เราท�า
โครงการกับ iTAP ค่อนข้างนานก็ได้ผลตอบรับมาว่ามีบริษัทไทยไปขอใช้ทุน
แล้วส�าเร็จน้อยมาก เมื่อคนรู้ว่ามีโครงการก็เข้าไปเริ่มท�า ไปเสนอขอโครงการ
จากทาง iTAP ได้ทุนมาจับมือกับมหาลัยร่วมกันพัฒนาแต่ก็ล้มเหลว หรือจบ
เป็นผลิตภัณฑ์ออกมาก็ไม่สามารถออกสู่ตลาดได้ กระบวนกว่าจะประสบ
ความส�าเร็จก็ค่อนข้างเยอะ เป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาสะสมองค์ความรู้ต่าง ๆ
เมืองจีนมีนโยบายในการท�าเรื่องนี้ดีมาก เขาเห็นว่าประเทศจีนมีปัญหา
อากาศเสีย เครื่องฟอกอากาศมากขายอยู่เต็มไปหมด แต่เขารู้ว่าถ้าคนจีน
ไปซื้อเครื่องฟอกอากาศใช้จะขาดทุนเยอะ ภาครัฐเป็นคนก�าหนดว่าให้
มหาวิทยาลัยท�างานวิจัยเรื่องเครื่องฟอกอากาศ และตั้งบริษัทผลิตขายคนจีน
A Perspective on 2030 Business Visions