Page 63 - เนอหา1.7.2_Neat
P. 63
60
5 การเมืองการปกครอง ในระบอบการเมืองการปกครองได้ก าหนด
ข้อบังคับระเบียบกฎหมายของบ้านเมืองจรรยาบรรณต่างๆซึ่งเป็นข้อบังคับหรือแนว
ปฏิบัติเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและเพื่อความยุติธรรมโดยทั่วกัน
4.2.4 ความส าคัญและประโยชน์ของจริยธรรม
1 จริยธรรมเป็นรากฐานส าคัญแห่งความเจริญรุ่งเรืองความมั่นคงและ
ความสงบสุขของปัจเจกชนสังคมและประเทศชาติอย่างยิ่งครับควรส่งเสริม
ประชาชนไม่มีศัลยกรรมเป็นอันดับแรกเพื่อให้เป็นแกนกลางของการพัฒนาด้านอื่น
ทั้งเศรษฐกิจการศึกษาการเมืองการปกครอง ฯลฯ การพัฒนาที่ขาดจริยธรรมเป็น
หลักยึดย่อม เกิดผลร้ายมากกว่าดีและผู้มีความรู้แก่การคุณธรรมย่อมก่อให้เกิด
ความเสี่ยงเสียได้มากกว่าผู้ด้อยความรู้โดยท่านกล่าวว่า”ผู้มีความรู้แต่ไม่รู้วิธีที่จะ
ประพฤติตนย่อมก่อให้เกิดความเสื่อมเสียได้มากกว่าผู้มีความรู้น้อยถ้าเปรียบความรู้
เหมือนดินจริยธรรมยังเป็นเหมือนน้ าดินที่ไม่มีน้ ายึดเหนี่ยวเกาะกลุ่มย่อมเป็นฝุ่นระ
อองให้ความร าคานมากกว่าให้ประโยชน์คนที่มีความรู้แต่ไม่มีจริยธรรมจึงมักเป็น
คนทที่ก่อความร าคาญหรือเดือดร้อนให้แก่ผู้อื่นอยู่เนืองๆ”
2.การพัฒนาบ้านเมือง ต้องพัฒนจิตใจคนก่อน หรืออย่างน้อยก็ให้
พร้อมๆไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การศึกษาวิชาการอื่นๆเพราะการพัฒนาที่
ไม่มีจริยธรรมเป็นแกนน าจะสูญเปล่าและเกิดผลเสียเป็นอันมากท าให้บุคคลลุ่มหลง
ในวัตถุและอบายมุข การที่เศรษฐกิจต้องเสื่อมโทรมประชาชนทุกขฺยากเพราะคนใน
สังคมและเลยจริยธรรมกอบโกยทรัพย์สินเป็นประโยชน์ส่วนรวมมาก เกินไปขาด
ความเมตตาปราณีแล้งน้ าใจในการด าเนินชีวิตซึ่งกันและกัน
3 จริยธรรมไม่ได้หมายถึงการถือศีลกินเพล เข้าวัดฟังธรรมถือศีล
ภาวนาโดยไม่ช่วยเหลือท าประโยชน์ให้แก่สังคมแต่จริยธรรมหมายถึงความประพฤติ
การกระท าและความคิดที่ถูกต้องเหมาะสมต่อการท าหน้าที่ของตนเองอย่างถูกต้อง
สมบูรณ์เว้นกลุ่มควรเว้นท าสิ่งควรท าด้วยความฉลาดรอบคอบรู้เหตุรู้ผลถูกต้องตาม
กาละเทศะและบุคคลดังนั้นจะเห็นว่าจริยธรรมจึงจ าเป็นและมีคุณค่าส าคัญส าหรับ
บุคคลในทุกวิชาชีพสังคมสังคมจะอยู่รอดด้วยจริยธรรม