Page 4 - แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาฉบับสมบูรณ์
P. 4

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2555 - 2558


                                 ประวัติความเป็นมาของอ าเภอปลาปาก

                                 สถานที่ตั้งรกรากของชาวปลาปาก มีความเป็นมาของบรรพบุรุษของชาวปลาปากเดิมมีถิ่นที่อยูํ
                   ในเขตสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวที่เมืองมหาชัย(อยูํในแขวงค ามํวน) ในยุคสมัยเมื่อพระยากูํแก๎วเป็น

                   เจ๎าเมือง ได๎ถูกพวกจีนฮํอรุกราน เจ๎าเมืองมหาชัยจึงได๎นิมนต์พระหลวงพํอสมภารและพระน๎องชายชื่อเพียรหาญ

                   อพยพพลเมืองจ านวนหนึ่งข๎ามมาฝั่งขวาของแมํน้ าโขง ในเขตแดนของประเทศไทย การเดินทางครั้งนั้นได๎มาขอ
                   อาศัยอยูํกับเจ๎าพรหมมา ซึ่งเป็นเจ๎าเมืองนครพนมในขณะนั้น เจ๎าพรหมมานี้เป็นบุตรของเจ๎าเมืองมหาชัย เมื่อ

                   อพยพมาถึงบริเวณที่เรียกวํา  ทามแคม  ซึ่งเป็นบริเวณห๎วยบังขนังในปัจจุบัน  เห็นวําเป็นสถานที่อุดมสมบูรณ์

                   ด๎วยเผือก  มัน กลอย ปลาและมีแหลํงน้ าเหมาะสม  บริบูรณ์  ส าหรับการท ามาหาเลี้ยงชีพ  ทั้งท าเลก็กว๎างขวาง

                   จึงได๎พากันส ารวจ และตั้งที่พักอาศัย แตํเนื่องจากทามแคมเป็นที่ลุํมน้ าทํวมในฤดูฝน จึงอพยพผู๎คน ขึ้นไปสร๎าง
                   บ๎านเรือนและวัดอยูํบนที่เนินสูงใกล๎เคียงกับทามแคมนั้น ซึ่งตํอมามีหลักฐานพบวําบริเวณนั้นเป็นบ๎านเรือนร๎าง

                   วํางเปลําไมํมีผู๎อาศัยอยูํ วัดก็ทรุดโทรมเกําแกํมากมีสภาพปรักหักพัง มีพระทองสัมฤทธิ์  และพระพุทธรูปเกําแกํ

                   องค์เล็ก ๆ จ านวนหนึ่ง  ซึ่งยังหลงเหลือมาจนถึงปัจจุบันนี้ และในวัดก็มีป้ายเป็นตัวอักษรลาวเขียนด๎วยสีด า อําน

                   แล๎วแปลความได๎วํา “วัดบ๎านนาบุํงทุํงปลาเว๎า”

                                  วัดบ๎านนาบุํงทุํงปลาเว๎านี้ ตํอมาได๎เปลี่ยนชื่อเป็นวัดศรีบุญเรืองเนื่องจากประชาชนได๎มากราบ

                   ไหว๎บูชาพระทองสัมฤทธิ์ศักดิ์สิทธิ์ท าให๎วัดนาบุํงทุํงปลาเว๎ามีความเจริญรุํงเรืองขึ้น    และตํอมาในสมัยพระ

                   อาจารย์มหาแผลงด ารงต าแหนํงเจ๎าคณะอ าเภอเมืองนครพนม จึงได๎เปลี่ยนชื่อวัดศรีบุญเรืองเป็นวัดคณิตศรธรรม
                   มิการาม ในปัจจุบัน  พระทองสัมฤทธิ์ที่กลําวถึงในต านานนี้มีอยูํจริง และประดิษฐานอยูํที่วัดคณิตศรธรรมมิการาม

                                 ค าวํา “เว๎า”  นี้เป็นภาษาท๎องถิ่นซึ่งความหมายก็คือ พูดต านานเกี่ยวกับปลาเว๎ามีประวัติความ

                   เป็นมาวําบริเวณนี้ในฤดูฝนมีน้ าหลาก จึงท าให๎มีปลาชนิดหนึ่งลักษณะคล๎ายปลาตะเพียนทองมารวมอยูํเป็น

                   จ านวนมาก และสํงเสียงร๎องอึงคะนึงคล๎ายเสียงคนพูดกัน ชาวบ๎านจึงพากันเรียกขานบริเวณแหํงนี้วํา
                   ปลาเว๎า  (ปลาพูด) ค าวํา “ปาก”  นี้ในภาษาถิ่นอีสานเป็นค ากริยาหมายถึง  พูด  ดังนั้น  ปลาปากก็คือ

                   ปลาพูด  หรือ ปลาเว๎านั่นเอง ชาวบ๎านจึงได๎ตั้งชื่อวํา ปลาปากตั้งแตํนั้นมา

                                 ประวัติการตั้งเป็นอ าเภอปลาปาก

                                     ปลาปากเดิมเป็นต าบลหนึ่งขึ้นอยูํกับอ าเภอเมืองนครพนม   ตํอมาเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม
                   พ.ศ.  2507 ทางราชการได๎ยกฐานะขึ้นเป็นกิ่งอ าเภอ ประกอบด๎วย 3  ต าบล  คือ  ต าบลปลาปาก   ต าบล

                   หนองฮีและต าบลกุตาไก๎ได๎แตํงตั้งร๎อยโทวิชัย บุญรัตนผลิน  รักษาราชการในฐานะปลัดอ าเภอหัวหน๎าประจ ากิ่ง

                   อ าเภอปลาปาก  ตํอมาเมื่อวันที่  17  พฤศจิกายน  2514   จึงได๎รับการยกฐานะเป็นอ าเภอปลาปากปาก
                   ประกอบด๎วย 8 ต าบล  ต าบลปลาปาก  ต าบลหนองฮี  ต าบลกุตาไก๎  ต าบลนามะเขือ   ต าบลโคกสูง  ต าบล

                   มหาชัย   ต าบลโคกสวําง และต าบลหนองเทาใหญํ (ต าบลหนองเทาใหญํยกฐานะขึ้นเป็นต าบลเมื่อปี  2521)





                   ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอปลาปาก หน้า                                4
   1   2   3   4   5   6   7   8   9