Page 21 - แผนพัฒนา กศน.
P. 21

10) ยุทธศาสตรความรวมมือระหวางประเทศเพื่อการพัฒนา

                              การพัฒนาความรวมมือระหวางประเทศของไทยในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยึดหลักคิดเสรี
               เปดเสรี และเปดโอกาส โดยมุงเนนการพัฒนาและขยายความรวมมือทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง และอื่นๆ

               กับมิตรประเทศและเปนการขับเคลื่อนตอเนื่องจากการดําเนินการภายใตแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 โดยกําหนดเปน

               แนวทางการดําเนินนโยบายการคาและการลงทุนที่เสรีเปดกวาง และเปนธรรม ดําเนินยุทธศาสตรเชิงรุกในการ
               แสวงหาตลาดใหมๆ สงเสริมใหผูประกอบการไทยไปลงทุนในตางประเทศ และสงเสริมความรวมมือเพื่อการพัฒนา

               กับประเทศในอนุภูมิภาคและภูมิภาครวมทั้งประเทศนอกภูมิภาค
               1.10 ทิศทางการศึกษาตามแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2579

               1) วิสัยทัศน

                              “คนไทยทุกคนไดรับการศึกษาและเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ดํารงชีวิตอยางเปนสุข

               สอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21”
               2) ยุทธศาสตรตามแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2579

               2.1) การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
                              (1) เปาหมาย

                                  (1.1) คนทุกชวงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ

               ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีตัวชี้วัดที่สําคัญ เชน การจัดกิจกรรมของสถานศึกษาที่
               สงเสริมการเรียนรูที่สะทอนความรักและการธํารงรักษาสถาบันหลักของชาติ และการยึดมั่นในการปกครองระบอบ

               ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข การจัดการเรียนการสอน/กิจกรรมเพื่อเสริมสรางความเปน
               พลเมือง (Civic Education) และสงเสริมการอยูรวมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม เปนตน

                                  (1.2) คนทุกชวงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพื้นที่พิเศษไดรับ

               การศึกษาและเรียนรูอยางมีคุณภาพ มีตัวชี้วัดที่สําคัญ เชน นักเรียนในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดน
               ภาคใตและพื้นที่พิเศษมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แตละวิชาผานเกณฑ

               คะแนนรอยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขึ้น สถานศึกษาจัดการศึกษาสําหรับกลุมชนตางเชื้อชาติ ศาสนา ภาษาและ

               วัฒนธรรม กลุมชนชายขอบ และแรงงานตางดาวเพิ่มขึ้น และสถานศึกษาในพื้นที่พิเศษที่จัดอยูในมาตรการจูงใจ มี
               ระบบเงินเดือน คาตอบแทนที่สูงกวาระบบปกติเพิ่มขึ้น เปนตน

                                  (1.3) คนทุกชวงวัยไดรับการศึกษา การดูแลและปองกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม มี
               ตัวชี้วัดที่สําคัญ เชน สถานศึกษาที่จัดกระบวนการเรียนรูและปลูกฝงแนวทางการจัดการความขัดแยงโดยแนวทาง

               สันติวิธีเพิ่มขึ้น มีการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม เพื่อเสริมสรางความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับภัยคุกคาม

               ในรูปแบบใหมเพิ่มขึ้นมีระบบ กลไก และมาตรการที่เขมแข็งในการปองกันและแกปญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหม
               เปนตน




                                                                        แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560-2579 ของ สํานักงาน กศน.
                                                                                                               16
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26