Page 212 - เล่ม 65 ม.ปลาย หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมงฟอร์ต
P. 212

210

                                                       ว33221 เคมี

               รายวิชา เพิ่มเติม                                         กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
               ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6  ภาคเรียนที่ 1                     เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จ านวน 1.5 หน่วยกิต

                      ค านวณ  เลขออกซิเดชันและระบุปฏิกิริยาที่เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์  ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์และระบุประเภท
               ของเซลล์เคมีไฟฟ้า  ขั้วไฟฟ้า  และปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น  พลังงานที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวัฏ
               จักรบอร์น-ฮาเบอร์   วิเคราะห์  การเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน  ระบุ  ตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดส์  รวมทั้ง  เขียนครึ่งปฏิกิริยา
               ออกซิเดชันและครึ่งปฏิกิริยารีดักชันของปฏิกิริยารีดอกซ์  องค์ประกอบของเซลล์เคมีไฟฟ้าและเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาที่
               แอโนดและแคโทด  ปฏิกิริยารวม  และแผนภาพเซลล์  ชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์   และเปรียบเทียบจุด
               หลอมเหลว  จุดเดือด และการละลายน้ าของสารโคเวเลนต์  หมู่คาบ ความเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ของธาตุเรพรีเซนเท
               ทีฟ  และธาตุแทรนซิชันในตารางธาตุ  ทดลองและเปรียบเทียบ ความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดส์ และเขียน
               แสดงปฏิกิริยารีดอกซ์ ดุล สมการรีดอกซ์ด้วยการใช้เลขออกซิเดชันและวิธีครึ่งปฏิกิริยา  อธิบาย  หลักการท างานของเซลล์ปฐม
               ภูมิและเซลล์ ทุติยภูมิ  การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักและระดับพลังงานย่อย  เมื่อทราบเลขอะตอมของธาตุ  การ
               เกิดไอออนและการเกิดพันธะไอออนิก โดยใช้แผนภาพหรือสัญลักษณ์  แบบจุดของลิวอิส  สมบัติของสารประกอบไอออนิก การ
               เกิดพันธะโคเวเลนต์แบบพันธะเดี่ยว   พันธะคู่   และพันธะสาม  ด้วยโครงสร้างลิวอิส   การเกิดพันธะโลหะ   และสมบัติของ
               โลหะ   สมบัติและค านวณครึ่งชีวิตของไอโซโทปกัมมันตรังสี   เขียน  สมการแสดงปฏิกิริยาของเซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทุติย
               ภูมิ   สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและระบุ   จ านวนโปรตอน  นิวตรอน  และอิเล็กตรอนของอะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์
               รวมทั้งบอกความหมายของไอโซโทป  สูตร  และเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก  สมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิ   ของ
                                       ิ
               ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนก  สูตร และเรียกชื่อสารโคเวเลนต์   การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักและระดับ
               พลังงานย่อยเมื่อทราบเลขอะตอมของธาตุ  ทดลอง  ชุบโลหะและแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า  สืบค้นข้อมูลและน าเสนอ
               ตัวอย่างความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเซลล์เคมีไฟฟ้าในชีวิตประจ าวัน  ก าหนดปัญหาและน าเสนอ  แนวทางการ
               แก้ปัญหาโดยใช้ความรู้ทางเคมีจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ าวันการประกอบอาชีพหรืออุตสาหกรรมโดยสืบค้น
               ข้อมูลการใช้หลักการทางเคมีท าน้ าเคลือบร่มบ่อสร้าง  อธิบายการใช้หลักการทางเคมีท าน้ าเคลือบร่มบ่อสร้าง  แสดง
               หลักฐาน  ถึงการบูรณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับสาขาวิชาอื่น  รวมทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการ
               ออกแบบเชิงวิศวกรรม  โดยเน้นการคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์เพื่อแก้ปัญหาในสถานการณ์หรือประเด็น
               ที่สนใจ  น าเสนอผลงานหรือชิ้นงานที่ได้จากการแก้ปัญหาในถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ   แสดง
               หลักฐาน  การเข้าร่วมการสัมมนาการเข้าร่วมประชุมวิชาการ  หรือการแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์ในงานนิทรรศการ  แบบจ าลอง
               อะตอม  พันธะเคมี  สมบัติธาตุตามตารางธาตุ   วิเคราะห์และเปรียบเทียบ   ความยาวพันธะ   และพลังงานพันธะในสารโคเว
               เลนต์   รวมทั้งค านวณพลังงานที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาของสารโคเวเลนต์จากพลังงานพันธะ     สมบัติบางประการของ
               สารประกอบไอออนิก  สารโคเวเลนต์และโลหะ  สืบค้นข้อมูล   และน าเสนอตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของสารประกอบไอออนิก
               สารโคเวเลนต์  และโลหะ ได้อย่างเหมาะสม  คาดคะเน  รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์  โดยใช้ทฤษฎีการผลักระหว่างคู่อิเล็กตรอน
                                                               ้
               ในวงเวเลนซ์   และระบุสภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์      สืบค้นขอมูล  และอธิบาย   สมบัติของสารโคเวเลนต์โครงร่างตาข่าย
               ชนิดต่าง ๆ  วิเคราะห์และบอก  แนวโน้มสมบัติของธาตุเรพรีเซนเททีฟตามหมู่และตามคาบ  บอกสมบัติของธาตุโลหะแทรนซิ
               ชัน  และเปรียบเทียบสมบัติกับธาตุโลหะในกลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ   พัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่  21   และตาม
               นโยบาย  10  ข้อ  ของโรงเรียน  ปลูกฝังให้นักเรียนเป็นบุคคลที่อิ่ม  เอิบ  อบอุ่น  อารี  มีคุณธรรม  คุณภาพสากล  พัฒนา
               สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
                              โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  ทักษะกระบวนการเรียนรู้  ความเข้าใจ  กระบวนการสร้าง
               ความคิดรวบยอด   กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่มและกระบวนการปฏิบัติ
                      เพื่อให้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการท างาน รักความเป็น
               ไทย มีจิตสาธารณะ มีสุขภาพและสุนทรียภาพที่ดี





                                                         - 210 -
   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217