Page 1 - อริยสัจสี่
P. 1

อวิชชา คือความไม่รู้ในอริยสัจ



        อริยสัจ                                        ทุกข์                                       สมุหทัย                          นิโรจน์                                                                                             มรรค
                            ความทนได้ยาก คงสภาพอยู่ไม่ได้ ต้องแตกดับในที่สุด                     เหตุแห่งทุกข์                    ความดับทุกข์                    มีองค์แปดคือปฏิปทาข้อปฏิบัติเพื่อความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ (มัชฌิมาปฏิปทา การปฏิบัติสายกลาง ไม่ไปสู่ปลายสุดแห่งกามสุขกับอัตตกิลมถานุโยค)

                         สังขาร  กายสังขาร การปรุงแต่งทางกาย                                เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย         แห่งอวิชชา สังขารจึงดับ                            สัมมาทิฏฐิ            ทุกเข ญาณัง ความรู้ในทุกข์
                                                                                                                           เพราะความดับไม่เหลือ
                              วจีสังขาร การปรุงแต่งทางวาจา
                                                                                                                                                                                                   ทุกขะสะมุทะเย ญาณัง ความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์
                                                                                              จึงมีสังขารทั้งหลาย
                              มโนสังขาร การปรุงแต่งทางใจ                                                                                                           ความเห็นชอบเป็นอย่างไร          ทุกขะนิโรเธ ญาณัง ความรู้ในความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
                              จักขุวิญญาณ คือตัวรับรู้รูปทางตา                                                                                                                                     ทุกขะนิโรธะคามินิยา ปะฏิปะทายะญาณัง ความรู้ในหนทางอันเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
                              โสตวิญญาณ คือตัวรับรู้เสียงทางหู                                                                                                                                                                                                                                           ปัญญา
                         วิญญาณ  ฆานวิญญาณ คือตัวรับรู้กลิ่นทางจมูก                       เพราะสังขารเป็นปัจจัย          แห่งสังขาร วิญญาณจึงดับ                        สัมมาสังกัปโป              เนกขัมมะสังกัปโป ความด าริชอบ คือความตั้งใจในการประพฤติพรหมจรรย์ (ตั้งใจออกจากกาม)
                                                                                                                           เพราะความดับไม่เหลือ
                              ชิวหาวิญญาณ คือตัวรับรู้รสชาดทางลิ้น
                                                                                                จึงมีวิญญาณ
                              กายวิญญาณ คือตัวรับรู้โผฏฐัพพะทางกาย
                                                                                                                                                                                                   อะวิหิงสาสังกัปโป ความด าริชอบ คือความตั้งใจในการไม่เบียดเบียน
                              มโนวิญญาณ คือตัวรับรู้ธรรมารมณ์ทางใจ                                                                                                 ความด าริชอบเป็นอย่างไร         อัพ๎ยาปาทะสังกัปโป ความด าริชอบ คือความตั้งใจในการไม่พยาบาท
                         นามรูป  เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ เรียกว่า นาม            เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย           เพราะความดับไม่เหลือแห่ง                                                  มุสาวาทา เวระมะณี เจตนา งดเว้นจากการพูดเท็จ
                                                                                                 จึงมีนามรูป
                                                                                                                            วิญญาณ นามรูปจึงดับ
                              มหาภูตรูป ๔ และรูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔ นี้เรียกว่า รูป
                              อายตนะ คือตา ทางมาของ รูป                                                                                                                     สัมมาวาจา              ปิสุณายะ วาจายะ เวระมะณี เจตนา งดเว้นจากการพูดส่อเสียด
                                                                                                                                                                                                   ผะรุสายะ วาจายะ เวระมะณี เจตนา งดเว้นจากการพูดหยาบ
                              อายตนะ คือหู ทางมาของ เสียง
                         สฬายตนะ  อายตนะ คือจมูก ทางมาของ กลิ่น                             เพราะนามรูปเป็นปัจจัย       แห่งนามรูป สฬายตนะจึงดับ                     วาจาชอบเป็นอย่างไร            สัมผัปปะลาปา เวระมะณี เจตนา งดเว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ
                                                                                                                           เพราะความดับไม่เหลือ
                                                                                                 จึงมีสฬายตนะ
                              อายตนะ คือลิ้น ทางมาของ รส

                              อายตนะ คือกาย ทางมาของ โผฏฐัพพะ                                                                                                                                      ปาณาติปาตา เวระมะณี เจตนา งดเว้นจากการฆ่าสัตว์
                              อายตนะ คือใจ ทางมาของ ธรรมารมณ์                                                                                                             สัมมากัมมันโต                                                                                                                   ศีล
                              จักษุสัมผัส คือสัมผัสทางตา                                                                                                            ความประพฤติการกระท า           อะทินนาทานา เวระมะณี เจตนา งดเว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้
                              โสตสัมผัส คือสัมผัสทางหู                                                                                                                  ชอบเป็นอย่างไร
                                                                                                                           เพราะความดับไม่เหลือ
                         ผัสสะ  ฆานสัมผัส คือสัมผัสทางจมูก                               เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย          แห่งสฬายตนะ ผัสสะจึงดับ                                                   กาเมสุ มิจฉาจารา เวระมะณี เจตนา งดเว้นจากการประพฤติผิดในกามทั้งหลาย
              วิชชา คือความรู้ใน อริยสัจ
                                                                                                  จึงมีผัสสะ
                              ชิวหาสัมผัส คือสัมผัสทางลิ้น
                              กายสัมผัส คือสัมผัสทางกาย
                              มโนสัมผัส คือสัมผัสทางใจ                                                                                                                    สัมมาอาชีโว              มิจฉาอาชีวัง ปะหายะ ละการหาเลี้ยงชีพที่มิชอบเสีย คือละการหาเลี้ยงชีพที่ทุจริต
                              จักขุสัมผัสสชาเวทนา คือเวทนาที่เกิดจากสัมผัสทางตา                                                                                     อาชีวะชอบเป็นอย่างไร           สัมมาอาชีเวนะ ชีวิกัง กัปเปติ หาเลี้ยงชีพด้วยอาชีพที่ชอบ คือประกอบอาชีพสุจริต
                       เวทนา (สุขเวทนา   ทุกขเวทนา อทุกขมสุข  เวทนา)  ฆานสัมผัสสชาเวทนา คือเวทนาที่เกิดจากสัมผัสทางจมูก      เพราะผัสสะเป็นปัจจัย     แห่งผัสสะ เวทนาจึงดับ  สัมมาทิฏฐิ  สัมมาสังกัปโป  สัมมาวาจา  สัมมากัมมันโต  สัมมาอาชีโว  สัมมาวายาโม  สัมมาสะติ  สัมมาสะมาธิ  เพียรพยามยามประคองตั้งจิตไว้ เพื่อไม่ให้อกุศลธรรมอันเป็นบาปเกิดขึ้น (ป้องกันอกุศล)   นับเป็น ๑ คือ อานาปานัสสติ *  นับเป็น ๒ คือ สมถะ กับ วิปัสนา *    นับเป็น ๓ คือ ปัญญา ศีล สมาธิ
                              โสตสัมผัสสชาเวทนา คือเวทนาที่เกิดจากสัมผัสทางหู
                                                                                                                           เพราะความดับไม่เหลือ

                                                                                                   จึงมีเวทนา
                              ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา คือเวทนาที่เกิดจากสัมผัสทางลิ้น
                              กายสัมผัสสชาเวทนา คือเวทนาที่เกิดจากสัมผัสทางกาย
                              มโนสัมผัสสชาเวทนา คือเวทนาที่เกิดจากสัมผัสทางใจ
                                                                                                                                                                                                   ไป (ท าลายอกุศลที่เกิดแล้ว)
                              รูปตัณหา ความอยากในรูป                                                                                                                      สัมมาวายาโม              เพียรพยายามประคองตั้งจิตไว้ เพื่อการละเสียซึ่งอกุศลธรรมอันเป็นบาปทั้งหลายที่เกิดขึ้นแล้วให้หมด
                        ตัณหา (กามตัณหา   ภวตัณหา วิภวตัณหา)  คันธตัณหา ความอยากในกลี่น      เพราะเวทนาเป็นปัจจัย   เพราะความดับไม่เหลือแห่ง                                                       เพียรพยายามประคองตั้งจิตไว้ เพื่อความยั่งยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามยิ่งขึ้น ความไพบูลย์
                                                                                                                                                                   ความเพียรชอบเป็นอย่างไร
                              สัททตัณหา ความอยากในเสียง
                                                                                                                                                                                                   เพียรพยายามประคองตั้งจิตไว้ เพื่อให้กุศลธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น (สร้างกุศล)
                                                                                                   จึงมีตัณหา
                                                                                                                             เวทนา ตัณหาจึงดับ
                              รสตัณหา ความอยากในรสชาด
                                                                                                                                                                                                   ความเจริญ ความเต็มรอบแห่งกุศลธรรมทั้งหลายที่เกิดขึ้นแล้ว (รักษากุศลที่เกิดแล้วไว้)
                              โผฏฐัพพตัณหา ความอยากในกาย
                              ธรรมตัณหา ความอยากในธรรมารมณ์                                                                                                                                        มีปกติพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ น าความ
                              กามุปาทาน ความยึดมั่นในกาม                                                                                                                                           ชอบใจ และความไม่ชอบใจ  ในโลกออกเสียได้
                         อุปปาทาน  สีลัพพตุปาทาน ความยึดมั่นในการปฏิบัติทางกาย วาจา        เพราะตัณหาเป็นปัจจัย          แห่งตัณหา อุปปาทานจึงดับ                                                  มีปกติพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่   มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม
                              ทิฏฐุปาทาน ความยึดมั่นในความเห็น
                                                                                                                           เพราะความดับไม่เหลือ
                                                                                                 จึงมีอุปปาทาน
                              ได้แก่ ศีล พรต
                              อัตตวาทุปาทาน ความยึดมั่นในความเป็นตัวเป็นตน
                                                                                                                                                                            สัมมาสะติ
                              กามภพ (นรกอเวจี ถึง สวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตตี)                                                                                       ความระลึกชอบเป็นอย่างไร          มีสติ น าความชอบใจ และความไม่ชอบใจในโลกออกเสียได้
                                                                                         เพราะอุปปาทานเป็นปัจจัย           เพราะความดับไม่เหลือ                                                                                                                                                           สมาธิ
                         ภพ   รูปภพ (พรหม ชั้นปาริสัชชา ถึง สุทธาวาสชั้นอกนิฏฐะ)                    จึงมีภพ               แห่งอุปปาทาน ภพจึงดับ                                                    มีปกติพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ น าความชอบ

                              อรูปภพ (อากาสานัญจายตนถึงเนวสัญญานาสัญญายตน)                                                                                                                         ใจและความไม่ชอบใจในโลกออกเสียได้
                              ความเกิด ความบังเกิด ความหยั่งลง เกิด ความปรากฏแห่ง           เพราะภพเป็นปัจจัย              เพราะความดับไม่เหลือ                                                    มีปกติพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยู่ มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ
                         ชาติ  ขันธ์ เกิดจ าเพาะ ความได้อายตนะครบในหมู่สัตว์นั้นๆ ของ                                                                                                              น าความชอบใจ และความไม่ชอบใจในโลกออกเสียได้
                              เหล่าสัตว์นั้นๆ นี้เรียกว่าชาติ                                      จึงมีชาติ                  แห่งภพ ชาติจึงดับ
                                                                                                                                                                                                   สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย สงัดแล้วจากอกุศลธรรมทั้งหลาย เข้าถึงฌานที่หนึ่ง อันมีวิตก วิจาร มีปีติ
                              ความแก่ ภาวะของความแก่ ฟันหลุด ผมหงอก หนังเหี่ยว                                                                                                                     และสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วตั้งมั่นอยู่
                              ความเสื่อมแห่งอายุ ความแก่ หง่อมแห่งอินทรีย์ ในหมู่สัตว์                                                                                                             วิตก วิจาร ระงับลง เข้าถึงฌานที่สอง อันเป็นเครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอก
                         ชรา มรณะ  ความเคลื่อน ภาวะของความเคลื่อน ความท าลาย ความ            เพราะชาติเป็นปัจจัย          แห่งชาติ ชรา มรณะจึงดับ                           สัมมาสะมาธิ            ผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิ แล้วตั้งมั่นอยู่
                              นั้นๆของเหล่าสัตว์นั้นๆ นี้เรียกว่าชรา
                                                                                                                           เพราะความดับไม่เหลือ
                                                                                                จึงมีชรา มรณะ
                              อันตรธาน  มฤตยู ความตาย กาลกิริยา ความแตกแห่งขันธ์
                                                                                                                                                                                                   ย่อมเข้าถึงฌานที่สาม  เป็นผู้เฉยอยู่ได้ มีสติ มีความเป็นอยู่เป็นปกติสุข แล้วตั้งมั่นอยู่
                               ความทอดทิ้งซากศพ ความขาดแห่งชีวิตินทรีย์ จากหมู่                                                                                    ใจตั้งมั่นชอบเป็นอย่างไร        ปีติจางหายไป เป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ    มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อมและได้เสวยสุข ด้วยนามกาย
                              สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ นี้เรียกว่ามรณะ
                                                                                                                                                                                                   ละสุขและทุกข์เสียได้ และความดับหายแห่งความเบิกบานใจและความเศร้าใจในช่วงเวลาที่ผ่านมา ย่อม
                 อิทัง วุจจะติ ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง เหล่านี้ ตถาคตเรียกว่า อริยสัจ คือ หนทางเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
                                                                                                                                                                                                   เข้าถึงฌานที่สี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา แล้วตั้งมั่นอยู่
           ผู้รู้ชัดในทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ ความดับทุกข์ และปฏิปทาข้อปฏิบัติแปดประการเป็นเครื่องให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์แต่ละนัยเรียกว่าญาณในธรรมคือธัมมญาณและการรู้ตามในธรรมนี้ย่อมน าความรู้นั้นไปสู่นัยะอันเป็นอดีตและอนาคตว่าในอดีตและอนาคตย่อมเป็นอย่างนี้ๆ เมื่อเห็นแล้วรู้แล้วอย่างนี้เรียกว่าอัน๎วยญาณคือผู้รู้ตาม ผู้รู้อย่างนี้ ตถคตเรียกว่า ผู้ถึงซึ่งกระแสแห่งธรรม
                                                                                                                                                                                                                                        เรียบเรียงและถ่ายทอดค าสอน ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ  โดย หญ้าพันปี
   1