Page 2 - เทวโลก.xls
P. 2
วิปสสนาคือเมื่อจิตสงบตั้งมั่นแลวมีการตริตรึก ถึงความไมเที่ยง ความแตกดับ ความไมใชตัวตนที่แทจริง แลวปลอยวางสลัดออก สละคืน ซึ่งขันธ ธาตุ อายตนะ วานั่นไมใชเรา ไมใชของเรา ไมใชตัวตนของเรา
ผูใหทานดวยการปรุงแตงจิต จะไดผลใหญอานิสงคใหญคือไดความเปนอริยะ สวนอัตภาพในเทวโลกจะไดตั้งแตเหลาพรหมายิกาขึ้นไป จะเปนชั้นไหนนั้นขึ้นกับสัทธา ศีล สุตะ จาคะ ปญญา
วิญญาณฐิติ ๑ ๒ ๓ ๔ อายตนะที่๑ ๕ ๖ ๗ อายตนะที่๒
๕ กําลังอยูในสัมมาสมาธิตั้งแต ฌาน ๑ ขึ้นไป ถึง สัญญาเวทยิตนิโรจน
(ปรมัตถสัจจ) โลกุตระ คือเหนือโลก ไมมีความเกิดปรากฏ ไมมีความเสื่อมปรากฏ เมื่อตั้งอยูไมมีภาวะอยางอื่นปรากฏ (ไมมีขันธ ธาตุ อายตนะ) พนจากความเปนสัตว เปนวิมุติญาณทัศน หรือปรินิพพาน
สมถะคือจิตมีความสงบตั้งมั่น แลวมีความพอใจในความสงบนั้นทุกขั้น ตั้งแตรูปสัญญาคือฌาน ๑ - ๔ ถึง อรูปสัญญาคือ อากาสานัญจายตนะ ถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ (รวมถึงเจริญพรหมวิหาร ๔)
(สัมมติสัจจ) โลกียะ คือโลกทั้ง ๓ โลก มีความเกิดปรากฏ มีความเสื่อมปรากฏ เมื่อตั้งอยูมีภาวะอยางอื่นปรากฏ (คือมีขันธ ธาตุ อายตะ) มีสิ่งๆหนึ่งมาพอใจในขันธ ธาตุ อายตนะ สิ่งๆนั้นจึงเรียกวาสัตว
เมื่อขันธ ธาตุ อายตนะ มีความเกิดปรากฎ มีความเสื่อมปรากฏ มีความดับปรากฏ สัตวผูมีความพอใจในสิ่งเหลานี้จึงเกิด เสื่อม ดับ ไปตามมัน ตองสลัดคืนวานี่ไมใชเรา ไมใชของเรา ไมไดเปนเรา
โอกาสที่จะบรรลุธรรมมีไดโดยรอบ เชน
๓ กําลังฟงธรรม (ฟงคําสอนที่ตถาคตตรัสไวดีแลว)
๑ ตริตรึก ละรึกธรรมไดเอง (ที่เคยสั่งสมสุตตะมา)
ผูเจริญสมถะภาวนายอมเขาสูเทวโลกชั้นใดชั้นหนึ่งที่เปนปุถุชนเมื่อสิ้นอายุขัย แลวยอมเขาสูโลกอบายทุคติวินิบาติ โอกาสที่จะไดเปนเทวดาและมนุษยนั้นนอยนิด
ก"$%&'( ก% 'ก % % "# (" *) อากาสานัญจายตน วิญญาณัญจายตน อากิญจัญญายตน เนวสัญญานาสัญญายตน
๔ กําลังแสดงธรรม (ถายทอดคําสอนของตถาคต)
ผูที่รูชัด ทราบชัดความเกิดและความดับ ทั้งคุณและโทษ และรูอุบายเปนเครื่องออกไปจากวิญญาณฐิติ ๗ และอายตนะ ๒ เหลานี้ ตามเปนจริงแลว ยอมเปนผูหลุดพนได เพราะไมยึดมั่น
"#
!
สวนสาวกผูเจริญวิปสนาภาวนา และเคยไดฟงคําสอนตถาคต ยอมเขาสูเทวโลกชั้นใดชั้นหนึ่ง และจะปรินิพพานในภพ (ที่แหงนั้น) นั้นไมวนมาสูโลกทั้งสามอีก
๒ กําลังสาธยายธรรม (สวดคําสอนตถาคต)
(แลวเจริญวิปสสนาญาณ) ๒ กรรมขาววิบากขาว ไดแก เหลาเทพชั้นสุภกิณหะ
นับจากพรหมายิกาชั้นปริสัชชา ถึง ชั้นอนิฏฐะ ในเหลาสุทธาวาส
๑. โลกอบายหรืออบายภูมิ ๓ ประกอบดวย นรก๑ เดรัจฉาน๑
นับจากอเวจีนรกขึ้นมารวมมนุษถึงสวรรคชั้นปรนิมมิตสวัตตี
นับจากอากาสานัญจายตนะ ถึง เนวสัญญานาสัญญายตนะ
เปรตวิสัย๑ อสุรกาย(จะไมปรากฎเมื่อตถาคตอุบัติขึ้น)
เทวโลก ๓ กรรมทั้งดําทั้งขาววิบากทั้งดําทั้งขาว ไดแก มนุษย เทพบางพวก วินิปาติกสัตวบางพวก ๔ กรรมไมดําไมขาววิบากไมดําไมขาว เปนไปเพื่อความสิ้นกรรมคือ มรรคมีองคแปด หรือ โพชฌงคเจ็ด
๒. โลกมนุษยหรือมนุษยภูมิ ๑ คือมนุษยโลก ๓. เทวโลกหรือเทวภูมิ ๑ มี ๗ เหลา ๒๕ ชั้น ประกอบดวย สวรรค ๖ ชั้น พรหมายิกา ๓ อาภา ๓ สุภา ๓ เวหัปพละ ๑ สุทธาวาส ๕ ภัควภพ ๔ " 5 สัตวพวกที่มีกายตางกัน มีสัญญาตางกัน เหมือนมนุษย เทวดาบางพวกและวินิปาติกสัตวบางพวก(เปรต ยักษ อสุรกาย) นี้เปนสัตตาวาสชั้นที่ ๑ สัตวพวกที่มีกายตางกัน มีสัญญาอยางเดียวกัน เหมือนเทวดาผูอยูในชั้นพรหม ผูเกิดในภูมิปฐมฌาน นี้เปนสัตตาวาสชั้นที่ ๒ สัต
กามาวจร หรือ กามภพ รูปาวจร หรือ รูปภพ อรูปาวจร หรือ อรูปภพ คติ ๕ ประกอบดวย นรก ๑ เดรัจฉาน ๑ เปรตวิสัย ๑ มนุษย ๑ เทวโลก ๑ เหลานี้คือ ทางไปของสัตวโลกทั้ง ๓ โลก เพราะไมใสใจถึงนานัตตสัญญา นี้เปนสัตตาวาสชั้นที่ ๖ อยางนี้ตถาคตเรียกวา ปญญาวิมุตติ ฯ ก"'กก $
ก, : (
สังคตะ อสังคตะ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙