Page 75 - สรปสาระสำคญ-แรงบนดาลใจแหงชวต_Neat
P. 75
และอีกหน่งึ โครงการตามพระราชดาริ “เศรษฐกิจพอเพียง” ซ่งึ เป็ น
ปรัชญาที่ชีแ้ นวทางการดารงชีวิตท่ีพระองค์ทรงมีพระราชดารัสแก่ชาวไทยนบั ตงั้ แต่ปี
พ.ศ. 2517 เป็ นต้นมา และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540
เพื่อเป็ นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทย ให้สามารถดารงอยู่ได้
อยา่ งมน่ั คงและยง่ั ยืนในกระแสโลกาภิวตั น์และความเปล่ียนแปลงตา่ งๆ
เศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทต่อการกาหนดอุดมการณ์การพฒั นา
ของประเทศ โดยปัญหาชนในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น
อย่างเช่น ศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสี ศาสตราจารย์เสน่ห์ จามริก
ศาสตราจารย์ อภิชยั พนั ธเสน และศาสตราจารย์ฉัตรทิพย์ นาถสภุ า โดยเชื่อมโยง
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับวฒั นธรรมชุมชน ซ่ึงเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดย
องค์กรพัฒนาเอกชนจานวนหน่ึงนับตงั้ แต่พุทธทศวรรษก่อน 2520 และได้ช่วยให้
แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่รู้จกั อยา่ งกว้างขวางในสงั คมไทย
สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ
ได้เชญิ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ใิ นทางเศรษฐกิจและสาขาอ่ืนๆ มาร่วมกนั ประมวลและกลน่ั กรอง
พระราชดารัสเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อบรรจุในแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม
แห่งชาติ ฉบบั ที่ 9 และได้จดั ทาเป็ นบทความเร่ือง “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
พร้ อมทัง้ นาความกราบบังคลทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย
เม่ือวนั ที่ 22 ตลุ าคม พ.ศ. 2542 โดยทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขพระราชทานและ
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานญุ าตให้นาบทความท่ีทรงแก้ไข
แล้วไปเผยแพร่ เพ่ือเป็ นแนวทางปฏิบัติของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติและทุกฝ่ ายท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทวั่ ไป
เม่ือวนั ท่ี 21 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2542
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนีไ้ ด้รับการเชิดชเู ป็ นอย่างสงู จากองค์การ
สหประชาชาติ ว่าเป็ นปรัชญาท่ีมีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศและ
สนบั สนนุ ให้ประเทศสมาชิกยดึ เป็ นแนวทางส่กู ารพฒั นาแบบยงั่ ยืน โดยมีนกั วิชาการ
และนกั เศรษฐศาสตร์หลายคนเหน็ ด้วยกบั แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
70 I GEN0113 แรงบนั ดาลใจแหง่ ชีวติ