Page 110 - แผนปฏิบัติราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
P. 110

 การพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจราชการ โดยใชแ นวคิดเทียบเคียงตนแบบ (Benchmarking)
  แหลงเงนิ งบประมาณ:
 งบประมาณ :
 หนวยงานรับผิดชอบ :
 ความสอดคลองภายใตแผนงาน นโยบายในระดับชาติ และแผนงานของสวนราชการ :
แผนงานยุทธศาสตรดานพัฒนาบริการประชาชนและการพัฒนาประสิทธิภาพภาครัฐ ผลผลิต/โครงการ : พัฒนาการใหบริการประชาชนและเพิ่มประสิทธิภาพการกํากับ การบริหารราชการแผนดิน
งายรายจาย : งบรายจายอื่น
๒,๙๔๙,๑๐๐ บาท สถาบันพัฒนาการตรวจราชการ
     แผนระดับ ๑ (Z)
      แผนระดับ ๒ (Y)
      แผนระดับ ๓ (X)
   ยุทธศาสตรชาติ
ดานที่ ๖ การปรับสมดุล
และพัฒนาระบบ การบริหาร
จดั การภาครัฐ
      แผนแมบทภายใตยุทธศาสตร
ประเด็นที่ ๒๐ การบริการประชาชนและ ประสิทธิภาพภาครัฐ
   แผนปฏิบัติราชการ สปน. ระยะที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐
กรอบแนวทางที่ ๒
พัฒนากลไกขับเคลื่อนและบูรณาการบริหารราชการแผน ดินใหมีประสิทธิภาพ เปาประสงค กลไกขับเคลื่อนการบริหารราชการแผนดินและนโยบายรัฐบาลมีการบรูณาการ อยางมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัดเปาประสงค รอยละความสําเร็จของการดําเนินการขับเคลื่อนและบูรณาการกลไกการ บริหารราชการแผนดินและนโยบายรัฐบาล ใหเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพตามแผนที่กําหนด (รอยละ ๑๐๐)
กลยุทธที่ ๑ สงเสริมและพัฒนากลไกขับเคลื่อนการบริหารราชการแผนดินและนโยบายรัฐบาลให มีประสิทธิภาพและตอเนื่อง
ตัวชี้วัดกลยุทธ รอยละความสําเร็จของการพัฒนากลไกขับเคลื่อนการบริหารราชการ แผนดินและนโยบายรัฐบาลสามารถดําเนินการไดตามแผนที่กําหนด (รอยละ ๑๐๐)
แผนงานที่ 2 เพิ่มขีดความสามารถของเจาหนาที่ของรัฐในการขับเคลื่อนการบริหารราชการ แผนดินและนโยบายรัฐบาล
             แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๓
หมุดหมายที่ ๑๓ ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทย ประชาชน
    นโยบายรัฐบาล
ขอ ที่๑๑การปฏิรูปการบริหาร จดั การภาครัฐ
รายละเอียดโครงการ :
     หลักการและเหตุผล
    ภาพรวม
    ผลผลิต (Output)
      ผลลัพธ (Outcome)
    สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ในฐานะหนวยงานกลางดานการตรวจ ราชการ ไดดําเนินการฝกอบรม/พัฒนา บุคลากรในระบบการตรวจราชการ อยางตอเนื่อง โดยใชแนวคิดเทียบเคียง ตนแบบ (Benchmarking) เพื่อให บุคลากรในระบบการตรวจราชการ ไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู พัฒนา การปฏิบัติงานตรวจราชการ โดยประสาน แนวคิด มุมมอง หรือวิธีการปฏิบัตงิ าน ขององคกรอื่น ๆ เขามาใชในองคกร ตนเอง เนนทั้งการเรียนรูทฤษฎี การศึกษาเชิงเปรียบเทียบจาก
  วัตถุประสงค
๑. เพือ่ เสริมสรา งองคค วามรู ทักษะ และ สมรรถนะทจี่ ําเปน สําหรับงานตรวจราชการ ๒. เพื่อเปนการเตรียมความพรอม และ เสริมสรางความเขมแข็งในการปฏิบัติงาน ดานการตรวจราชการ ใหสอดคลองกับ ความคาดหวังของฝายบริหาร และไดรับ ความเชื่อถือจากประชาชน
๓. เพื่อเสริมสรา งทัศนคติที่ดีตอการตรวจ ราชการรวมทั้งมกี ารเสริมสรางเครอื ขาย การตรวจราชการใหม ีความเขมแข็ง
๔. เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมไดศึกษา แนวคิดเทียบเคียงตนแบบ (Benchmarking)
   ๑. การจัดหลักสูตร ฝกอบรมบุคลากรดาน การตรวจราชการ จํานวน ๓ หลักสูตร
๒. มีรายงานสรุปผลการ ดําเนินโครงการฯ จํานวน ๑ ฉบับ/หลักสูตร
๓. ผูเขารับการฝกอบรม เขารับการฝกอบรมตลอด หลักสูตร ไมนอยกวารอยละ ๘๐
   ผูเขารับการฝกอบรม มีความรู ความเขาใจ มีทักษะและทัศนคติ ที่เหมาะสมตองานตรวจ ราชการ โดยประเมินจาก รอยละความรูความเขาใจ/ ความพงึ พอใจของผูเขารับ การฝกอบรม
   -97-
























































   108   109   110   111   112