Page 126 - แผนปฏิบัติราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
P. 126

 โครงการปรบั ปรุงกฎหมายและหรือระเบยี บในความรบั ผิดชอบของสปน.
  แหลงเงนิ งบประมาณ:
 งบประมาณ :
 หนวยงานรบั ผิดชอบ :
 ความสอดคลอ งภายใตแผนงาน นโยบายในระดับชาติ และแผนงานของสวนราชการ :
แผนงานยุทธศาสตรดานพัฒนาบริการประชาชนและการพัฒนาประสิทธิภาพภาครัฐ ผลผลิต/โครงการ : พัฒนาการใหบริการประชาชนและเพ่ิมประสิทธิภาพการกํากับ การบริหารราชการแผนดิน
งบรายจาย : งบดําเนินงาน
ไมใชงบประมาณ สํานักกฎหมายและระเบียบกลาง
     แผนระดับ ๑ (Z)
      แผนระดับ ๒ (Y)
      แผนระดับ ๓ (X)
   ยุทธศาสตรชาติ
ดานที่ ๖ การปรับสมดุล
และพัฒนาระบบ การบริหาร
จดั การภาครัฐ
       แผนแมบทภายใตยุทธศาสตร
ประเด็นที่ 22 กฎหมายและ กระบวนการยุติธรรม
   แผนปฏิบัติราชการ สปน. ระยะที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐
กรอบแนวทางที่ ๒
พัฒนากลไกขับเคลื่อนและบูรณาการบริหารราชการแผน ดินใหมีประสิทธิภาพ เปาประสงค กลไกขับเคลื่อนการบริหารราชการแผนดินและนโยบายรัฐบาลมีการบรูณาการ อยางมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัดเปาประสงค รอยละความสําเร็จของการดําเนินการขับเคลื่อนและบูรณาการกลไกการ บริหารราชการแผนดินและนโยบายรัฐบาล ใหเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพตามแผนที่กําหนด (รอยละ ๑๐๐)
กลยุทธที่ ๑ สงเสริมและพัฒนากลไกขับเคลื่อนการบริหารราชการแผนดินและนโยบายรัฐบาลให มีประสิทธิภาพและตอเนื่อง
ตัวชี้วัดกลยุทธ รอยละความสําเร็จของการพัฒนากลไกขับเคลื่อนการบริหารราชการ แผนดินและนโยบายรัฐบาลสามารถดําเนินการไดตามแผนที่กําหนด (รอยละ ๑๐๐)
แผนงานที่ 3 ปรับปรุงและพัฒนากฎหมาย
              แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๓
หมุดหมายที่ ๑๓ ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทย ประชาชน
    นโยบายรัฐบาล
ขอ ที่11:การปฏิรูปการ บริหารจัดการภาครัฐ
  รายละเอียดโครงการ :
   หลักการและเหตุผล
       ภาพรวม
     ผลผลิต (Output)
      ผลลัพธ (Outcome)
   สปน. มีภารกิจดําเนินการในฐานะ หนวยงานรับผิดชอบกฎหมาย ตาม พ.ร.บ. หลักเกณฑการจัดทํา รางกฎหมายและการประเมิน ผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๖๒
  วัตถุประสงค เพื่อใหกฎหมายและหรือ ระเบียบมีความทันสมัย สอดคลองกับสภาวการณ ปจจุบัน
กลุมเปาหมาย ประชาชนและหนวยงาน ของรัฐ
ระยะเวลาดําเนินการ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๕ - ๓๐ กันยายน ๒๕๖๖
    กฎหมายและหรือระเบียบกลางที่ อยูในความรับผิดชอบของ สกร. ที่ เขาสูกระบวนการพิจารณา
ตัวชี้วัด มีกฎหมายและหรือระเบียบที่ไดรับ การปรับปรุงเขาสูกระบวนการ พิจารณา
คาเปาหมาย
รอบ ๖ เดือน -
รอบ ๑๒ เดือน ๑ ฉบับ
     กฎหมายและหรือระเบียบกลางที่อยู ในความรับผิดชอบของ สกร. ที่ผาน การพิจารณา
ตัวชี้วัด มีกฎหมายและหรือระเบียบกลางที่ อยูในความรับผิดชอบของ สกร. ที่มี ความทันสมัยเปนปจจุบัน
คาเปาหมาย
รอบ ๖ เดือน –
รอบ ๑๒ เดือน ๑ ฉบับ
  -113-



















































   124   125   126   127   128