Page 15 - จุลสารลำน้ำชี
P. 15

  ที่มา: wikipedia
คาว่า “ชี” มีหลายความหมายทางภาษาและหลายมิติทางสังคมวัฒนธรรม เช่น ในภาษา สันสกฤตใช้ต่อคานามเป็นคายกย่อง ตรงกับภาษาลาวว่า “ท้าว” เมื่อนามาใช้เป็นคานาหน้านาม จะหมายถึงความยกย่อง เรียก “ชีต้น” (พระสงฆ์), “ชีผ้าขาว” (ชีปะขาว)..., ใช้เรียกเหล็กสาหรับ เจาะไม้ หรือเจาะเหล็กใช้แทงแล้วหมุนเข้าเรียก “เหล็กชี” เป็นคาเรียกชื่อกวางชนิดหนึ่ง ตัวเล็ก มีขนสีแดง เรียกกวางชี...รวมถึงการทาส่ิงที่เป็นปุยให้กระจาย
เฉพาะกรณที คี่ า วา่ “ช”ี เปน็ ชอื่ สายนา้ นนั้ สงิ่ ทน่ี า่ สนใจพจิ ารณาคอื ทนี่ า่ จะมที มี่ าเกยี่ วขอ้ งกบั “พืช” ในธรรมชาติป่า ซ่ึงมี 2 ชนิด คือ ช่ือพืชล้มลุกจาพวกผัก มีกล่ินหอมฉุน ผลกลมมีกล่ินฉุน เมื่อแก่ใช้เป็นเครื่องเทศ บ้างก็เรียก “ชีลา”, “ชีล้อม”, หรือ “หอมป้อม” ถ้าเกิดอยู่ป่าเป็นเครือ-เถา จะเรียก“ผักชีช้าง”...
แต่ที่น่าเป็นไปได้มากกว่าก็คือ “ชี” ท่ีเป็นชื่อไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีแก่นแข็ง เรียกว่า “ไม้ชี” (กกชี ต้นชี) เน้ือไม้ใช้ทาเคร่ืองเรือนหรือเครื่องใช้ต่าง ๆ ได้ดี และโดยธรรมชาติแล้วยังเป็นต้นไม้ที่ มียางย้อยออกมาเสมอ เม่ือยางถูกอากาศ แดดลมจะแข็งตัวเป็นก้อนเป็นช่อ เช่นเดียวกับยางไม้จิก (ไม้เต็ง) ที่มักเรียกกันท่ัวไปในภาคอีสานว่า “ขี้ชี / ขี้ซี”...ชาวบ้านแต่เก่ามักใช้วิธีเอาหนังสติ๊กยิง ให้ก้อนช่อยางแตกหักร่วงหล่นลงมา ซึ่งจะมีทั้งที่หักเป็นก้อนใหญ่และแตกเป็นก้อนเล็ก ๆ ปนกัน เป็นปกติ จนมีการนาลักษณะของข้ีชีดังกล่าวมาพูดเป็นคาพังเพยบอกความเป็นธรรมดาโลกท่ีย่อม แตกต่างกันว่า
“หนังสือก้อม* ต่างคนต่างมี ก้อนข้ีชีก้อนน้อยก้อนใหญ่ ก้อนข้ีไก่ก้อนแข็งก้อนเหลว” *หนังสือสั้น ๆ
   รวมพลังเครือข่ายลน้าชี: สายธารธรรมชาติและวัฒนธรรมไม่มีสิ้นสุด 11





























































































   13   14   15   16   17