Page 23 - แผนปฏิบัติราชการ สำนักนายกรัฐมนตรี ระยะที่ 2
P. 23
ประเด็นความคาดหวัง
๒. มุ่งเน้นการทางานเชิงรุก ทั้งการปฏิบัติงาน การเสนอนโยบายรัฐบาล การเสนอแนวทาง
การแก้ไขปัญหาเร่งด่วนของสังคมอย่างเป็นรูปธรรม
ร้อยละ
๒๑.๖๒
๑๘.๑๕
๑๓.๕๑ ๗.๓๔
การวิเคราะห่์ความเสำย่ งยุทธศาสำติร์ (Strategic Risk Management)
เปน็ การวเิ คราะหค์ วามเสยี่ งทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ เปา้ หมายหรอื เปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรท์ ไี่ ดก้ า หนดไว้ แบ่งได้ตามแหล่งกาเนิด (Source) ปัจจัยเสี่ยง และมุมมอง (Perception) ขององค์การ โดยแบ่งเป็น ๔ประเภทคอื (๑)StrategicInternalControllableRisk:SICคอื ปจั จยั เสย่ี งทเี่กดิ ขน้ึ จากภายในองคก์ าร และสามารถท่ีจะควบคุมความเสี่ยงได้ (๒) Strategic External Controllable Risk : SEC คือ ปัจจัยเสี่ยง ท่ีเกิดขึ้นจากภายนอกองค์การและสามารถท่ีจะควบคุมปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวได้ (๓) Strategic Internal Uncontrollable Risk : SIU คือ ปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากภายในองค์การแต่ไม่สามารถควบคุมปัจจัยเส่ียง ดงั กลา่ วได้ (๔) Strategic External Uncontrollable Risk : SEU คอื ปจั จยั เสย่ี งทเี่ กดิ จากภายนอกองคก์ าร แต่ไม่สามารถควบคุมปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวได้
กํารประเมินควํามเสี่ยงด้วย Risk Matrix
เป็นการประเมินระดับความรุนแรงของความเสี่ยงต่อเป้าหมายด้วยสองปัจจัย คือ การประเมิน เพื่อวัดความเป็นไปได้ของโอกาสเกิด (Likelihood Score) และผลกระทบ/ความรุนแรง (Impact Score) ของปัจจัยเสี่ยง โดยนาความเสี่ยงที่ระบุไว้แล้วท้ังหมดมาพิจารณาเพ่ือจัดลาดับความเส่ียงและการประเมิน ความเสี่ยงมักจะทา ๒ มิติ คือ
๑. โอกาส/ความถ่ีท่ีจะเกิด (Probability) คือ ความน่าจะเป็นท่ีจะเกิดเหตุการณ์ท่ีนามาพิจารณา เกิดขึ้นมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะมีการพิจารณาหาระดับของโอกาสท่ีจะเกิด ดังน้ี
๓. มุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาของประชาชนได้ตรงจุด เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม เพิ่มข้ึน และเป็นที่ปรึกษาให้กับหน่วยงานภาครัฐและเป็นท่ีพึ่งของประชาชนได้ อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง
๔. เน้นการใช้เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการบริหารจัดการ อาทิ การยกระดับบริการท่ีถูกต้อง รวดเร็ว ฉับไว และเป็นหน่วยงานในการบริหารจัดการข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ
๕. เพิ่มการสื่อสารประชาสัมพันธ์ภารกิจของหน่วยงานให้มีความหลากหลาย เข้าถึง ประชาชน มุ่งสื่อสารโดยให้ข้อมูลท่ีเป็นจริงและครบถ้วน
ระดับ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕
โอกาส
น้อยมาก น้อย ปานกลาง มาก สูงมาก
รายละเอียด
เกิดข้ึนยาก (ประมาณ ๑ ครั้งในช่วง ๕ ปี) เกิดข้ึนน้อย (๑ คร้ังในช่วง ๒-๔ ปี ) เกิดขึ้นบ้าง (๑ ครั้งในช่วง ๑ ปี) เกิดข้ึนบ่อยคร้ัง (๑ คร้ังในช่วง ๒-๖ เดือน) เกิดขึ้นเป็นประจา (๑ คร้ังในช่วง ๑ เดือน)
แผนปฏิบัติราชการสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐)
12