Page 45 - แผนปฏิบัติราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
P. 45
กรอบแนวทาง เป้าประสงค์ กลยุทธ์ หน่วยงาน อย่างทั่วถึง เพื่อลด ความเหลื่อมล้ําในสังคม 2.2 ผลักดันให้เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคมีความ เข้มแข็งและยั่งยืน 2.3 พัฒนางานบริการด้านการคุ้มครองผู้บริโภคให้มี ประสิทธภิาพและทันสมัย สคบ. (หลัก) สปน. (สนับสนุน) 4.พลิกโฉมการ ประชาสัมพันธ์เพื่อ สนับสนุนภารกิจ รัฐบาลและสร้างการ รับรู้ของประชาชน 1.การประชาสมัพันธ์ ของรัฐเข้มแข็ง สร้าง ภูมิคุ้มกันให้แก่ ประชาชน เกิดสังคม แห่งภูมิปัญญา และค่านิยมที่ดี 1.1 รับฟังเสียงสะท้อนของประชาชน เพื่อประกอบการ กําหนดเนื้อหาการประชาสัมพันธ์สนับสนุนภารกิจ ภาครัฐ กปส. 1.2สร้างสังคมแห่งภูมริู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ส่งเสริมภาพลักษณ์ทดี่ีของประเทศ กปส. ๒.การบริหารจัดการ ข้อมูลข่าวสารเพื่อ ต่อต้านข่าวปลอม และ พัฒนาช่องทางและ เครือข่ายการสื่อสาร เพื่อเพิ่มการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารของ ประชาชน 2.1 การบริหารข้อมลู ข่าวสารและการจัดการข่าวปลอม กปส. (หลัก) 2.2 สร้างเครือข่ายและพัฒนาสื่อสร้างสรรค์ เพี่อสร้าง การรับรู้ทเี่ท่าทันให้แก่ประชาชน กปส. (หลัก) สคบ. (สนับสนุน) กลไกการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ การแปลงแผนปฏิบัติราชการสํานักนายกรัฐมนตรี (สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี กรมประชาสัมพันธ์ และสํานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค) ระยะที่ 2 พ.ศ. 2566 – 2570 ไปสู่การปฏิบัติอย่างมี ประสิทธิภาพในครั้งนี้ มุ่งเน้นการดําเนินการภายใต้กระบวนการ PDCA หรือ การวางแผน (Plan) การดําเนินการ ตามแผน (Do) การตรวจสอบ (Check) และการดําเนินการแก้ไขปัญหาที่พบ (Act) โดยมีขั้นตอนสําคัญในการ แปลงแผนดังนี้ การวางแผน (Plan) 1) การทบทวนปัญหา ผลการดําเนินการ บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน ระดมความเห็นทุกภาคส่วน เพื่อกําหนดทิศทางองค์กร 2) การจัดทําแผนปฏิบัติราชการสํานักนายกรัฐมนตรี(สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และสํานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค) ระยะท่ี 2 พ.ศ. 2566 – 2570 การดําเนินการตามแผน (Do) 1) การแปลงแผนปฏิบัติราชการสํานักนายกรัฐมนตรี (สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี กรมประชาสัมพันธ์ และสํานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค) ระยะที่ 2 พ.ศ. 2566 – 2570 ไปสู่การ จัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําปีของหน่วยงาน หรือการนําข้อมูลไปทบทวนเพื่อปรับปรุงแผนการดําเนินงาน/ โครงการ/กิจกรรมตามกลยุทธ์ หรือตัวชี้วัดที่รับผิดชอบ 2) การกําหนดรายละเอียดและหลักเกณฑ์ของตัวชี้วัด ทั้งในระดับเป้าประสงค์ และระดับกลยุทธ์ ในทุกประเด็นกรอบแนวทางให้สามารถวัดผลได้ และสะท้อนผลสัมฤทธิ์อย่างแท้จริง 3) การถ่ายทอดแผนปฏิบัติราชการ ตลอดจนเป้าหมายการดําเนินการ ให้แก่หน่วยงานเพื่อเป็นกรอบแนวทาง การดําเนินงาน 46