Page 21 - SMM 04-1
P. 21

3.18 การสอบเทียบ (calibration)
“การปฏิบัติงานภายใตเงื่อนไขที่ระบุ ซึ่งในขั้นแรกสราง ความสัมพันธระหวาง คาปริมาณกับความไมแนนอนการวัดที่ไดจากมาตรฐานการวัด และคาบงชี้ที่สมนัยกับ ความไมแนนอนการวัดที่เชื่อมสัมพันธคาบงชี้นั้น และในข้ันที่ 2 จะใชสารสนเทศดังกลาว สรางความสัมพันธเพ่ือใหไดผลการวัดจากคาบงช้ี” (ท่ีมา : JCGM 200)
ในวิธีการมาตรฐานสําหรับการสอบเทียบเครื่องชวยหายใจฉบับนี้ เงื่อนไขการ สอบเทียบถูกกลาวถึงในหัวขอการสอบเทียบ คาความดันหายใจเขา คาความดันบวก ขณะสิ้นสุดระยะหายใจออก คาปริมาตรหายใจเขา คาปริมาตรหายใจออก และคาความ เขมขนออกซิเจน ทั้งหมดนี้ ถูกพิจารณาเปนปริมาณสอบเทียบ (measurand)
3.19 การทวนสอบ (verification)
“บทบัญญัติของหลักฐานเชิงวัตถุวิสัย ซึ่งแสดงวาสิ่งที่กําหนด เปนไปตาม ขอกําหนดท่ีตองการที่ระบุ” (ที่มา : JCGM 200)
วิธีการมาตรฐานสําหรับการสอบเทียบเครื่องชวยหายใจฉบับน้ี ใหคําแนะนํา เกณฑการทวนสอบของคาความคลาดเคลื่อน (maximum permissible error) และคา ความไมแนนอน ไวในภาคผนวก ง
3.20 ความสามารถสอบกลับไดทางมาตรวิทยา (metrological traceability)
“สมบัติของผลการวดั โดยทผี่ ลการวัดน้ันสมั พันธกับส่ิงอางอิงอยางไมขาดชวง การสอบเทียบทไี่ ดจดั ทําเปนเอกสารไว โดยการสอบเทียบแตละครั้งมีสวนตอความไม แนนอนการวัด” (ที่มา : JCGM 200)
วิธีการมาตรฐานสําหรับเครื่องมือแพทย SMM 04-1
วิธีการสอบเทียบเครื่องชวยหายใจสําหรับผูปวยวิกฤติ 11

























































































   19   20   21   22   23