Page 23 - SMM 04-1
P. 23

6. การปฏิบัติเบื้องตน
6.1 การตรวจสอบเบื้องตน
การสอบเทียบเครื่องชวยหายใจ ประกอบดวยเครื่องมือที่ตองมีคุณลักษณะ เบื้องตน ดังตอไปนี้
1) เครื่องชวยหายใจตองเปนเครื่องที่จําแนกไดวาอยูภายในขอบขายของวิธีการ มาตรฐานฉบับนี้
2) เครื่องวิเคราะหการทํางานของเครื่องชวยหายใจหรือเครื่องมือมาตรฐานตองอยู ในสภาพพรอมใชงาน โดยเครื่องตองผานการสอบเทียบและยังมีสถานภาพอยูใน กรอบเวลาที่สามารถนําไปใชในการสอบเทียบเครื่องชวยหายใจได
3) ปอดเทียมมีลักษณะสมบัติที่ตรงตามเงื่อนไขการสอบเทียบที่ตองการ และอยูใน สภาพพรอมใชงาน ไมชํารุด หรือฉีกขาด
4) แหลงจายแกสสามารถจายแกส ซึ่งไดแก อากาศอัดหรือออกซิเจน ตามความ ตองการของเคร่ืองชวยหายใจน้ัน ๆ ไดอยางเพียงพอสําหรับการสอบเทียบ
6.2 การตรวจสภาพความพรอมของเคร่ืองชวยหายใจ
เครื่องชวยหายใจที่มีความพรอมสําหรับการสอบเทียบ ตองมีคุณลักษณะ ดังตอไปนี้
1) เครื่องจะตองไมประกอบดวยอุปกรณที่เสื่อมสภาพหรือชํารุด ยกตัวอยางเชน เซน็ เซอรชํารุด วงจรหายใจมีรอยรั่ว รวมถึงสายไฟฟาฉีกขาด เปนตน
2) เครื่องตองอยูในสภาพพรอมใช เสมือนวากําลังจะถูกนําไปใชกับผูปวย กลาวคือ เครื่องถูกติดต้ังดวยวงจรหายใจที่เหมาะสมตามเจตนาของการนําเคร่ืองไปใช
3) เครื่องตองผานกระบวนการตรวจสอบตนเอง ยกตัวอยางเชน การตรวจสอบการ รั่วของวงจรหายใจ การชดเชยคาความตานทานและคาความยอมตามของวงจร หายใจ เปนตน
วิธีการมาตรฐานสําหรับเครื่องมือแพทย SMM 04-1
วิธีการสอบเทียบเครื่องชวยหายใจสําหรับผูปวยวิกฤติ 13





















































































   21   22   23   24   25