Page 34 - SMM04-1
P. 34

SMM 04-1 วิธีการมาตรฐานสําหรับเครื่องมือแพทย
9) (หากตองการ) ทําการทวนสอบสมรรถนะของเครื่องชวยหายใจในขณะทํางานใน โหมดควบคุมปริมาตร (ดูแนวทางการทวนสอบและแนวทางการกําหนดเกณฑการ ทวนสอบไดใ นภาคผนวก ง)
7.4 ขั้นตอนการสอบเทียบเคร่ืองชวยหายใจขณะทํางานในโหมดควบคุมความดัน
1) ติดต้ังแหลงจายแกส เครื่องชวยหายใจ วงจรหายใจ และปอดเทียมที่มีลักษณะ สมบัตติ รงตามเงื่อนไขการสอบเทยี บ เขากับเคร่ืองวิเคราะหก ารทํางานของ เครื่องชวยหายใจ หรือชุดเครอื่ งมือมาตรฐานสําหรับการสอบเทยี บเคร่ืองชวย หายใจ ดังแสดงในรูปท่ี 1
2) ปรับเครื่องชวยหายใจใหทํางานในโหมดควบคุมความดัน PC-CMV หรือโหมดที่มี การทํางานเทียบเทา
3) ปรับการตั้งคาเครื่องชวยหายใจใหท ํางานตรงตามเง่ือนไขการสอบเทยี บท่ีกําหนด และรอกระทั่ง เคร่ืองชวยหายใจทํางานอยูในสภาวะเสถียร
หมายเหตุ
ในกรณีที่เกิดการแกวงของความดนั หายใจท่ีระยะเรมิ่ หายใจเขา ความดันสูงสุดในระยะ หายใจเขา (PPEAK) ที่เครื่องวิเคราะหการทํางานของเครื่องชวยหายใจตรวจวัดไดอาจเปน คาความดันที่ระดับการแกวงขึ้นสงูสุด ซึ่งไมสามารถนํามาใชประเมินเปนความดันหายใจ เขา(PINSP)ไดอยางถูกตองตอไปไดในกรณีเชนน้ีใหปรับการตั้งคาเคร่ืองชวยหายใจโดย เพิ่มระยะขอบขาข้ึน (rise time) กระทั่งความดันสูงสุดเกิดข้ึนที่ระยะส้ินสดุ การหายใจเขา (ประมาณ 50 ms สุดทายของระยะหายใจเขา)
4) ในแตละรอบการทํางานของเคร่ืองชวยหายใจ บันทึกคาของพารามิเตอรการ หายใจทั้งจากสวนแสดงผลของเครื่องชวยหายใจ และจากเครื่องวิเคราะหการ
 24 วิธีการสอบเทียบเครื่องชวยหายใจสําหรับผูปวยวิกฤติ

























































































   32   33   34   35   36