Page 35 - SMM04-1
P. 35

ทํางานของเครื่องชวยหายใจ ใหไดจํานวน 30 คาติดตอกัน (𝑛𝑛𝑛𝑛 = 30) โดย ประกอบดวยพารามิเตอรการหายใจดังตอไปนี้ (ดตู ัวอยางแบบบันทึกผลการวัดได ในภาคผนวก ก)
ก. ความดันสูงสุดในระยะหายใจเขา(PPEAK)
ข. ปริมาตรหายใจออก(VTE)
ค. ความดันบวกขณะสิ้นสุดระยะหายใจออก(PEEP)
ง. ความเขมขนออกซิเจน(O2)
หมายเหตุ ปริมาณความดันหายใจเขา(PINSP)สามารถหาไดจากการหาผลตางระหวางความดันสูงสุด ในระยะหายใจเขา (PPEAK) กับความดันบวกขณะสิ้นสุดระยะหายใจออก(PEEP)
5) ทําซ้ําในขอ 3. ถึง 4. จนกระทั่งครบตามเงื่อนไขการสอบเทยี บท่ีไดกําหนด
6) คํานวณผลการสอบเทียบ ตามวิธกี ารในหัวขอที่ 8 (ดูตัวอยางตารางแสดงผลการ คํานวณคาความคลาดเคลื่อนไดใ นภาคผนวก ข และตารางแสดงผลการสอบเทียบ
ไดในหัวขอที่ 9 )
7) ประเมินคาความไมแนนอนของผลการวัด (ดูแนวทางการประเมินความไมแนนอน
ไดในภาคผนวก ค)
8) (หากตองการ) ทําการทวนสอบสมรรถนะของเครื่องชวยหายใจในขณะทํางานใน
โหมดควบคุมความดัน (ดูแนวทางการทวนสอบและแนวทางการกําหนดเกณฑ การทวนสอบไดในภาคผนวก ง)
วิธีการมาตรฐานสําหรับเครื่องมือแพทย SMM 04-1
 วิธีการสอบเทียบเครื่องชวยหายใจสําหรับผูปวยวิกฤติ 25




















































































   33   34   35   36   37