Page 113 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 113

   กํารจัดองค์ประกอบศิลป์
  สัญลักษณ์ของกําร แสดงออก
 เนื้อหําสําระ
  แนวเรื่อง (อํารมณ์)
     ต้นไผ่ (เส้นตั้งฉาก)
ความอ่อนน้อม คงทน ต่อสู้ อ่อนโยน ความก้าวหน้า ตามความเชื่อของคนจีน
 ควํามเข้มแข็งแต่มี ความอ่อนโยน
  ตารางที่ 2-6 สัญลักษณ์ของการแสดงออกในลัทธิความเช่ือของศิลปะจีน
สรุปผลกํารวิเครําะห์
ภาพปริศนาธรรมในจิตรกรรมฝาผนังภาคใต้ ช่วงรัชกาลท่ี 1 ถึงรัชกาลที่ 8 มีการพัฒนาเป็นจิตรกรรมนอก แบบแผนหรือออกนอกกรอบประเพณีท่ีกระทามาในช่วงรัชกาลที 1-3 ได้อย่างน่าสนใจ โดยเฉพาะภาพจิตรกรรม ที่เขียนขึ้นสมัยรัชกาลท่ี 4 มีลักษณะเฉพาะท่ีโดดเด่น ซ่ึงจะมีจุดมุ่งหมายและอุดมคติในการสร้างงานจิตรกรรม ท่ีแปรเปล่ียนจากการเขียนภาพเพื่อสักการบูชาเสริมบารมีพระพุทธเจ้า และบอกเล่าพุทธประวัติของพระพุทธเจ้า เพ่ือให้เกิดความศรัทธาในพระพุทธศาสนา หรือประดับเพ่ือความสวยงามตามแบบรัชกาลที่ 3 ของศาสนาสถานเท่าน้ัน แต่จะการพัฒนาการวาดภาพแบบ “อุดมคติ” สู่แบบ “ควํามเป็นจริง” ท่ีสะท้อนแนวคิดและศิลปะวิทยาแบบตะวันตก คลา้ ยกบั วดั บวรนเิ วศวหิ าร และเนอื้ หาการแสดงออกถงึ หลกั ธรรมคา สอนอนั เปน็ แกน่ สาระสา คญั ของพทุ ธศาสนา ซง่ึ บคุ คล สังคมสามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้ โดยภาคใต้มีเอกลักษณ์ท่ีโดดเด่นของเทคนิคเชิงช่าง จะมีความหลากหลาย ทางฝีมือช่าง ท้ังรูปแบบช่างหลวงภาคกลาง ศิลปวัฒนธรรมจีน ศิลปะตะวันตกและช่างท้องถ่ินภาคใต้ ดังปรากฏในภาพ ปริศนาธรรม วัดโพธ์ิปฐมาวาส และวัดอ่ืนๆ ในภาคใต้ ท่ีสะท้อนหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตีความภาพปริศนาธรรมในจิตรกรรมฝาผนังของภาคใต้โดยเลือกภาพปริศนาธรรมที่ปรากฏใน พระอุโบสถวัดโพธิ์ปฐมาวาส จังหวัดสงขลา และเช่ือมโยงกับวัดอื่นในภาคใต้ทั้งหมด 12 วัด เกิดผลงานการจัดองค์ประกอบ แนวเร่ือง ปฏิจจสมุปบาท ธุดงค์ 13 ไตรลักษณ์ อสุภะ 10 วรรณคดีรามายณะ และวรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้ โดยมี หลักการในการประกอบกันของรูปทรง และเนื้อหาท่ีโดดเด่น ดังนี้
รูปแบบ ปรากฏท้ังรูปแบบเหมือนจริง และไทยประเพณี มีอิสระในการประกอบกันของรูปทรงเน้ือหา ปรากฏทั้งจบเป็นตอนๆ ไม่ต่อเน่ืองกัน และต่อเนื่องสัมพันธ์ทั้งผนัง ดังเช่น ภาพปฏิจจสมุปบาท วัดโพธิ์ปฐมาวาส
เทคนิคเชิงช่ําง เทคนิคการเขียนภาพปรากฏทั้งฝีมือช่างชั้นครู และช่างท้องถิ่น ที่มีการเขียนแบบเรียบง่ายอิสระ ในการแสดงออก ทาให้ภาพปริศนาธรรมมีความแตกต่างกันดังเช่น วัดโพธ์ิปฐมาวาส ซ่ึงมีเทคนิคการเขียนสีด้วยการสร้าง บรรยากาศของสี สรา้ งคา่ นา้ หนกั ใหม้ คี วามเหน็ จรงิ มากขนึ้ ดงั ปรากฏทงั้ การเขยี นภาพคน สตั ว์ ธรรมชาติ สงิ่ กอ่ สรา้ ง เปน็ ตน้ ซ่ึงมีเทคนิคการวาดภาพด้วยรูปแบบทัศนียวิทยา (Perspective) ด้วยการสร้างขนาดสัดส่วนของรูปทรงทาให้ดูสมจริง
  103
          




















































































   111   112   113   114   115