Page 114 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 114

  เน้ือหําสําระ การแสดงออกที่เป็นนามธรรมในรูปธรรมที่มีความสอดคล้องกับหลักธรรมของพระพุทธเจ้า อันมีแรงบันดาลใจจากขรัวอินโข่ง ดังปรากฏ ภาพปฏิจจสมุปบาท อสุภะ 10 ธุดงค์ 13 ไตรลักษณ์ ไตรภูมิ วรรณคดี รามายณะ วรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้ อันเป็นพื้นฐานความรู้สู่ความเข้าใจในแนวเรื่องอริยสัจจ์ 4 ซึ่งเป็นเน้ือหาท่ีเกี่ยวข้อง กับการดาเนินชีวิตของผู้คนในปัจจุบัน ซึ่งภาพปริศนาธรรมเน้ือหาดังกล่าว ช่างวาดไว้เป็นเน้ือหาหลักของจิตรกรรมฝาผนัง วัดโพธิ์ปฐมาวาส แต่วัดอื่นในภาคใต้จะแสดงเน้ือหาดังกล่าวเป็นภาพแทรกในเนื้อหา พุทธประวัติ และชาดก
คติควํามเช่ือ การเขียนภาพปริศนาธรรมในช่วงรัชกาลท่ี 1-8 นอกจากแนวเรื่องดังกล่าว จะมีความสอดคล้อง กับหลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า ซ่ึงเป็นกุศลธรรมของช่างเพื่อให้ผู้คน สังคมได้เข้าถึงหลักธรรมของพระพุทธเจ้า น า ไ ป ส ก่ ู า ร อ ย ร่ ู ว่ ม ก นั อ ย า่ ง ส ง บ แ ล ะ ย งั แ ส ว ง ห า ค ว า ม ส ขุ ต า ม อ ตั ภ า พ แ ล ะ พ ฒั น า จ ติ ใ จ ใ ห อ้ ย เ่ ู ห น อื โ ล ก ธ ร ร ม อ นั จ ะ น า ป ร ะ โ ย ช น ์ ด้านความสงบทางใจ พ้นจากความทุกข์ท้ังปวงนาจิตเข้าสู่ความสงบทางใจ พ้นจากความทุกข์ทั้งปวงนาจิตเข้าสู่ ความสงบ สะอาด สว่าง แห่งมรรคผล นิพพานทั้งในปัจจุบัน และอนาคต
กํารจัดองค์ประกอบศิลป์ มีส่วนสาคัญในการสร้างสรรค์ภาพปริศนาธรรม อันเกิดจากการประสานสัมพันธ์กัน ใหเ้ กดิ ความเปน็ เอกภาพของสว่ นประกอบของรปู ทรงอนั เปน็ สญั ลกั ษณก์ ารแสดงออกทมี่ คี วามสอดคลอ้ งกบั เนอื้ หา ในสว่ น ของรูปทรงจะประกอบด้วย เส้น สี รูปร่าง ซึ่งทั้งท่ีปรากฏขนาดใหญ่ และแทรกซึมเข้าหากัน วางเคียงกัน ทับซ้อนกัน ของรูปทรง โดยเกิดจากเนื้อหาดังเช่น รูปทรงกบกลืนช้างในท้องช้างมีน้า 3 สระ รูปทรงกบ คือ โลภะ เป็นต้น และการจัด องค์ประกอบที่มีการทับซ้อนกันของรูปทรงในภาพนรกภูมิ แสดงถึงความวุ่นวาย ด้ินรน อัดแน่นของสัตว์นรก ซึ่งปรากฏ ทั้งการจัดองค์ประกอบที่สร้างสรรค์ข้ันด้วยโครงสร้างใหม่ และเป็นไปตามความเป็นจริงตามธรรมชาติ เช่น ภาพการฝังศพ แบบจนี (ฮวงซยุ้ )และการเผาศพแบบสามสา้ งของภาคใต้และการผสมผสานความเชอื่ และรปู ทรงทห่ี ลากหลายทางศาสนา แตส่ รา้ งความเปน็ เอกภาพดว้ ยเนอ้ื หาความดงี าม ดงั ภาพท่ี 2-64 และการจดั องคป์ ระกอบทมี่ คี วามเปน็ อสิ ระของชา่ งทอ้ งถน่ิ ภาคใต้ในการประกอบกันของรูปทรง + เนื้อหา และการใช้สี แต่มีความเป็นเอกภาพด้วยเนื้อหาทางความเช่ือ ความศรัทธา ต่อพระพุทธศาสนา ดังปรากฏภาพปริศนาธรรมวัดโคกเคียน
สัญลักษณ์ของกํารแสดงออก รูปทรงในภาพปริศนาธรรมมีความสาคัญในการแสดงออกของเนื้อหาที่ทาให้ผู้ชม เกดิ การตคี วาม เกดิ อารมณค์ วามรสู้ กึ เพอ่ื ดงึ ดดู ความสนใจ ในการเขา้ ถงึ หลกั ธรรมคา สอนของพระพทุ ธเจา้ อนั ประกอบดว้ ย แนวเร่ือง + รูปทรง + เทคนิค คืองานศิลปะ รูปทรงในธรรมชาติ เป็นแรงบันดาลใจท่ีสาคัญทาให้เกิดแนวเร่ือง ซึ่งเกิดจาก เลือกรูปทรงที่มีนัยซ่อนเนื้อหานามาสร้างสรรค์ ดังเช่น กบ คือ โลภะ งู คือ โทสะ และหนู 4 ตัว คือ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ เป็นต้น การเลือกรูปทรงเป็นไปตามความคิดเห็นของช่างที่จะนามาสื่อสัญลักษณ์แทนเนื้อหา ให้เกิดความสมบูรณ์ของ แนวเรื่อง ทาให้เกิดความน่าสนใจ เป็นสิ่งใหม่ เกิดอารมณ์สุนทรียะ เป็นส่ิงท่ีปลุกอารมณ์ของคนดู
  104
          





























































































   112   113   114   115   116