Page 116 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 116
สรุปตามตารางท่ี 2-7 เป็นการวิเคราะห์แนวเร่ืองที่ปรากฏในภาพปริศนาธรรมของจิตรกรรมฝาผนัง ในภาคใต้ ช่วงรัชกาลท่ี 1-8 ในลักษณะความเชื่อมโยงระหว่างองค์ประกอบศิลป์ ของมูลฐานค่าจาเพาะ ดังเช่น การใช้เส้น ทอ่ี สิ ระสอดคลอ้ งกบั การประกอบรปู ทรงและเนอื้ หา การใชส้ มี ที งั้ การใชส้ แี บบเอกรงค์ และพหรุ งค์ และความมอี สิ ระในการ ใชส้ขีองชา่งท้องถนิ่การวาดภาพรปูรา่ง-รปูทรงทมี่ทีงั้วางเคยีงกนัและทบัซอ้นผลกึเขา้หากนัของรปูทรงซงึ่มคีวามสมัพันธ์ ตามเนื้อหาภาพที่แสดงออกของสัญลักษณ์ทาให้ภาพมีความเป็นจริง เกิดมิติระยะใกล้ กลาง ไกล จัดระบบท่ีว่างของภาพ ตามเนอ้ื หาของภาพ มนี า้ หนกั แสงเงาทงั้ ระบายสแี บนเรยี บ และเกลยี่ นา้ หนกั ของสตี ามความเปน็ จรงิ เกดิ ความสมั พนั ธแ์ ละ มีเอกภาพของเนื้อหาท้ังเช่ือมโยงต่อเนื่องหลายภาพ และจบเป็นตอนๆ โดยมีบรรยากาศเช่ือมโยงสัมพันธ์กับของวิธีการ หลักการ เนื้อหา เพ่ือเป็นการแสดงออกของแต่ละแนวเร่ืองที่มีความเป็นนามธรรมในรูปธรรม ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่จะนา ไปสู่การทดลองจินตภาพสมมติ และการสังเคราะห์ปริศนาธรรม แนวเรื่อง อริยสัจจ์ 4 ต่อไป
106