Page 117 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 117
บทที่ี่ 3 กํารวิเครําะห์ปริศนําธรรมในจิตรกรรมฝําผนังของภําคใต้สมัยศิลปะรัตนโกสินทร์
(ช่วงรัชกําลท่ี 9)
ภาพปรศิ นาธรรมในจติ รกรรมฝาผนงั ของภาคใต้ บรเิ วณฝง่ั ทศิ ตะวนั ออกทะเลอา่ วไทย ชว่ งสมยั ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทร์ (รัชกาลที่ 9) โดยเลือกภาพปริศนาธรรมที่มีความสมบูรณ์และมีลักษณะเฉพาะโดดเด่นคือภาพปริศนาธรรม โรงมหรสพ ทางวิญญาณ วัดธารน้าไหล สวนโมกขพลาราม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ของท่านพุทธทาสภิกขุ สาหรับการวิเคราะห์เพ่ือ ให้เกิดโครงสร้างของแต่ละแนวเรื่อง ตามหลักธรรมคาสอนของศาสนาพุทธ ดังเช่น ปฏิจจสมุปบาท ภาพชุดแกะสลักไม้ ของเชอแมน และสมุดภาพปริศนาธรรมไทย เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ โดยจะเน้นการวิเคราะห์ด้านรูปแบบ เทคนิคเชิงช่าง เนื้อหาสาระ คติความเชื่อ การจัดองค์ประกอบศิลป์ สัญลักษณ์ของการแสดงออก ลักษณะเฉพาะความโดดเด่น (ตารางที่ 1-1)
ภําพปริศนําธรรมในโรงมหรสพทํางวิญญําณ
1) ปริศนําธรรมแนวเร่ืองปฏิจจสมุปบําท
ภาพปฏิจจสมุปบาท แบบทิเบต ซ่ึงท่านพุทธทาสภิกขุ นามาเขียนไว้ในโรงมหรสพทางวิญญาณ ณ สวนโมกข พลาราม อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ถือว่าเป็นหัวใจของพุทธศาสนา เพราะว่าสอนเรื่องทุกข์กับความไม่เป็นทุกข์
ดงั พทุ ธภาษติ ทวี่ า่ “ภกิ ษทุ งั้ หลาย! แตก่ อ่ นกด็ ี เดยี๋ วนกี้ ด็ ี ตถาคตบญั ญตั สิ อนเฉพาะเรอื่ งทกุ ขก์ บั ความไมเ่ ปน็ ทกุ ข์ เทา่ นนั้ ” ปฏจิ จสมปุ บาท โดยเนอ้ื หา กค็ อื วา่ ดว้ ยเรอ่ื งทกุ ขก์ บั ความไมเ่ ปน็ ทกุ ขน์ นั่ เอง (พระคมั ภรี ญาณ อภปิ ณุ โญ, 2555: 1)
ดังนั้นการศึกษาปริยัติในพระพุทธศาสนา ต้องศึกษาเรื่องปฏิจจสมุปบาท นาไปสู่การปฏิบัติตามหลัก ปฏิจจสมุปบาท ได้รับผลเป็นปฏิเวธ เกิดจากการศึกษาปฏิบัติตามหลักปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบําท เป็นธรรมอันลุ่มลึกละเอียดอ่อนเป็นธรรมชาติท่ีทาความเข้าใจได้ยาก แปลว่า ธรรมอันเป็น ธรรมชาตอิ าศยั กนั แลว้ เกดิ ขนึ้ หรอื สงิ่ ทอี่ าศยั กนั พรอ้ มแลว้ จงึ เกดิ ขนึ้ ปฏจิ จสมปุ บาทเปน็ กฏธรรมชาตเิ ปน็ กฏแหง่ ววิ ฒั นาการ ของความเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้นในเบื้องต้นแปรปรวนในท่ามกลางแตกสลายดับไปในที่สุดท้ังส่ิงที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ยกเว้นนิพพาน เป็นธรรมชาติที่ปราศจากการปรุงแต่งอยู่เหนือกฎแห่งการไหลด้วยประการทั้งปวง
107