Page 143 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 143

   ทุกข์ และทุกขสมุทัย
  ทุกขนิโรธ และทุกขนิโรธคํามินีปฏิปทํา
 1) ตัวกู ของกู
2) ทะเลไฟ
3) ภาพจากอนันตะสู่อนันตะ 4) ภาพของเสียงตบมือข้างเดียว 5) ภาพอาบน้า
6) พระพุทธองค์อยู่หลังม่าน
 1) ภาพอริยมรรคมีองค์แปด 2) ภาพลิ้นงูอยู่ในปากงู
3) ภาพผู้ดับไม่เหลือ
4) ภาพจิตว่างได้ยินหญ้าพูด 5) ภาพพ้นแล้วโว้ย
6) ภาพทิ้งทวนของเชอแมน
 ตารางท่ี 3-3 เนื้อหาสาระของปริศนาธรรมภาพชุดแกะสลักไม้ของเชอแมน
เน้ือหาสาระที่เก่ียวกับอริยสัจจ์ 4 ได้แก่ (1) ทุกข์ (2) ทุกขสมุทัย ดังปรากฏภาพตัวกู ของกู หมายความว่า ความไม่ยอมกัน คือมีความยึดม่ันสิ่งใดๆไว้ เป็นสมบัติของกู จากภาพส่ือถึงตุ๊กแก 2 ตัว มันไม่ยอมกัน จะกัดกันต่อสู้กัน อหังการ แปลว่าตัวกู มีมมังการ แปลว่า ของกู ต่างไม่ยอมแพ้ ต่างหาผลประโยชน์ สิ่งท่ีกวาดล้างพฤติกรรมนี้ออกจากใจได้ คือ ธรรมะ เปรียบกับไม้กวาด ปัดกวาดความรู้สึกยึดม่ันถือม่ันออกไป ถ้าทาไม่ได้ก็จะนามาซ่ึงความทุกข์ ซ่ึงภาพทุกภาพ แสดงให้เห็นทุกข์และทางดับทุกข์ และภําพทะเลไฟ คือ สังสารวัฏ ท่ีประกอบด้วยกุศล และอกุศล เปรียบกับทะเลข้ีผึ้ง ที่มีเรือคือ มนุษย์วิ่งแล่นอยู่ในทะเลด้วยความร้อนรุ่ม อันตราย มีการเผาไหม้อยู่ตลอดเวลา ภาพจากอนันตะสู่อนันตะ คือ การปรุงแต่งสังขารทั้งหลายไม่มีที่สิ้นสุด ผลก็จะออกโดยไม่มีท่ีส้ินสุด ไม่รู้จักเต็ม นามาซึ่งความทุกข์ เปรียบกับระฆังตี เมอื่ ไหรก่ ด็ งั ไปในอากาศไมเ่ ตม็ พนื้ ทใี่ นอากาศ สว่ นภําพของเสยี งตบมอื ขํา้ งเดยี ว แสดงถงึ ความทจ่ี ติ ไมร่ บั เอาอารมณม์ าปรงุ แตง่ ให้เป็นเรื่องเป็นราว คือ อายตนะภายในกับอายตนะภายนอก เม่ือกระทบหรือสัมผัส เกิดวิญญาณ คือ การรู้แจ้งแล้วรู้สึก จะปรุงเป็นเวทนา แล้วยึดมั่นถือม่ันไปตามความยินดียินร้าย เกิดความรู้สึกว่ามีตัวกู ผู้ยึดม่ัน เป็นของกูผลคือ ความทุกข์ เพราะความยึดม่ัน คือ ผลการตบมือสองข้าง ส่วนภําพอําบน้ํา หมายถึง การชาระล้างกิเลส ล้างสิ่งสกปรก ล้างความเป็น ตัวกูของกู ล้างอวิชชา อุปาทาน ถ้าไม่ล้าง ก็จะนามาซึ่งความทุกข์ท้ังหลาย น้า คือ ธรรมะ นามาซึ่งความสะอาด สว่าง สงบ
ภําพพระพุทธองค์อยู่หลังม่ําน หมายถึง ม่านเป็นอวิชชา ปิดบัง หนาแน่น จนมองไม่เห็นพระพุทธองค์อยู่ใกล้ คนเราท่ีมีหลักธรรมคาสอน ก็ไม่สามารถนาไปปฏิบัติให้พ้นจากความทุกข์ได้ เพราะมีม่านแห่งอวิชชาเห็นหนทางปิดกั้นไว้
ภําพท่ีแสดงถึง 3) ทุกขนิโรธ 4) ทุกขนิโรธคํามินีปฏิปทํา คือ ภําพอริยมรรคมีองค์แปด รูปทรงนาคตัวใหญ่ 6 เคียร แสดงถึง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มีอานาจ อนุภาพ ถ้าใครปราบไม่ได้ จะต้องทนทุกข์ทรมานเหมือนมนุษย์กาลัง ลอยอยู่ในน้า ต้องปราบด้วยพญาครุฑ คือ ผู้รู้มีปัญญามีปีก ควบคุมพญานาค 6 เคียร โดยมีเรือ 8 ลา หมายถึง อริยมรรคคือ ความถูกต้อง 8 ประการ ได้แก่ ความเห็นชอบ ความปรารถนาชอบ การพูดจาชอบ การกระทาการงานชอบ การดารง ชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ สติชอบ สมาธิชอบ เนื่องเป็นอันเดียวกัน พาพ้นจากอานาจของนาค 6 เคียรได้ พ้นจาก ความทุกข์
  133
          



















































































   141   142   143   144   145