Page 150 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 150
3) ปริศนําธรรมในสมุดภําพปริศนําธรรมไทย
เปน็ เครอ่ื งมอื สอนธรรมะแกป่ ระชาชนในยคุ สมยั ของบรรพบรุ ษุ ทไ่ี มร่ หู้ นงั สอื เขยี นไวใ้ นสมดุ ขอ่ ย และเขยี นตาม ผนงั โบสถบ์ า้ ง เพอื่ ใหท้ ายก ทายกิ าทไี่ มร่ หู้ นงั สอื ไดเ้ รยี นรธู้ รรมะ และเปน็ ผลงานในแงศ่ ลิ ปะ และวฒั นธรรม อารยธรรมของ คนไทย แสดงถึงชนชาติไทยได้สนใจในวัฒนธรรมทางฝ่ายวิญญาณหรือ Spiritualist มีสปริตแห่งความเป็นไทยที่แสดงออก ทางพุทธศาสนาท่ีเร็ว และสนุกสนานไม่น่าเช่ือตามหลักธรรมชาติ ซ่ึงถือว่ามีความจาเป็นต่อโลกปัจจุบันจะต้องเรียนรู้เพ่ือ นาไปใช้ในการดาเนินชีวิต ซึ่งประกอบด้วย ภาคต้น เป็นภาคมิจฉาทิฐิ มีความหลงจึงจมในความทุกข์ และภาคปลาย เป็นภาคสัมมาทิฐิ ดับทุกข์ส้ินเชิง
3.1 รูปแบบภําพปริศนําธรรม
การเขียนภาพแบบไทยประเพณี มีลักษณะ 2 มิติ กว้างยาวเขียนสีขาว ตัวภาพบนพื้นสีดา โดยการ ลดตัดทอนรูปทรงให้ดูเรียบง่าย เน้นรูปทรงให้สอดคล้องกับเนื้อหาหลัก สร้างความสมบูรณ์ของภาพด้วยส่วนประกอบ
ของภาพ
ฝีมือช่างท้องถ่ินมีเทคนิคการเขียนแบบเรียบง่าย จึงมีความประณีตไม่สม่าเสมอกัน ดังปรากฏการ เขียนภาพหลัก และส่วนประกอบ ซ่ึงมีลักษณะคล้ายกับเทคนิคการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังท่ีเขียนขึ้นในช่วงรัชกาล ท่ี 1-3 ดังเช่น วัดมัชฌิมาวาสวรวิหาร จังหวัดสงขลา ซึ่งช่างมีเทคนิคการนาเสนอเป็นภาพจบเป็นตอนๆ ที่สอดคล้องกับ หลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า
กลุ่มที่ 1 เทคนิคการเขียนภาพหลักดังปรากฏภาพพระภิกษุสงฆ์ ภาพบุคคลท่ัวไปจะระบายสีเพียงสีใด สีหน่ึง และตัดเส้นแสดงรายละเอียดของหน้าตาเครื่องทรงต่างๆ (ภาพท่ี 3-34)
การเขียนภาพส่วนประกอบ เช่น โขดหิน ลาน้า มีการไล่น้าหนักอ่อนแก่ของน้าหนักสี แสดงความ เหมือนจริงของมิติใกล้ไกล และพ้ืนระบายสีเดียวเรียบ มีความเหมือนจริง
กลุ่มที่ 2 เทคนิคการเขียนภาพหลัก และภาพประกอบ เขียนด้วยสีขาวบนพ้ืนดา สร้างความเบาบาง หนาของเส้น ทาให้เกิดค่าน้าหนักของรูปร่าง (ภาพท่ี 3-34)
เทคนิคการใช้สี ส่วนใหญ่เป็นสีเอกรงค์ (Monochrome) ใช้สีเดียว เช่น สีส้ม น้าตาล แต่สร้างค่าน้าหนัก ของสีให้มีน้าหนักด้วยการผสมสีเหลือง ขาว น้าตาล และดา ทาให้เกิดภาพมิติ และใช้สีตรงกันข้ามในส่วนของเครื่องทรง แต่ลดค่าของสีด้วยการผสมสีขาว เพ่ือให้เกิดความเป็นเอกภาพของสี
เทคนิคการสร้างระยะลึกตื้น ใกล้ ไกล มีเทคนิคแบบจิตรกรรมไทยสมัยโบราณ คือ ภาพระยะหน้า จัดภาพไว้ขอบด้านล่างของภาพ 1 ระยะต่อมาอยู่ตรงกลาง 2 และไกลสุด 3 บนขอบบนของภาพ (ภาพที่ 3-36)
3.2 เทคนิคเชิงช่ํางภําพปริศนําธรรม
140