Page 161 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 161

  ตามตารางท่ี3-7และตารางที่3-8เปน็ การสรปุ การวเิคราะหภ์ าพปรศิ นาธรรมทปี่ รากฏในโรงมหรสพทางวญิ ญาณ ของท่านพุทธทาสภิกขุในช่วงรัชกาลท่ี 9 แนวเรื่องปฏิจจสมุปบาท สมุดภาพปริศนาธรรมไทย และภาพแกะสลักไม้ของ เชอแมน ในลักษณะการจัดองค์ประกอบของค่ามูลฐานจาเพาะที่เช่ือมโยงกับเน้ือหาทางศิลปะ ดังเช่น การใช้เส้น สี รูปร่าง รูปทรงบริเวณว่าง พ้ืนผิง น้าหนัก-แสงเงา เป็นส่วนประกอบท่ีสาคัญที่ทาให้การแสดงออกของรูปทรงท่ีสัมพันธ์กับเน้ือหา ดังเช่น ภาพชุดแกะสลักไม้ของเชอแมน โดยขยายรูปทรงให้มีความโดดเด่น ชัดเจน และการทับซ้อนบังกัน เกี่ยวพันกัน ของรูปทรง ทาให้เกิดค่าน้าหนัก พื้นผิวที่มีความแตกต่างกันตามเนื้อหา และเน้นพ้ืนท่ีว่างเป็นส่วนประกอบของภาพ ทาให้ รูปทรงเด่นชัด น่าสนใจ และดึงดูดความสนใจท่ีมีนัยภายในรูปทรง ส่วนสมุดภาพปริศนาธรรมไทย เน้นเส้น รูปร่าง รูปทรงท่ี เรยี บงา่ ยตามอดุ มคติ การจดั องคป์ ระกอบของรปู รา่ ง รปู ทรงเคยี งกนั ทบั ซอ้ นกนั เกยี่ วพนั กนั เกดิ มติ สิ มั พนั ธก์ นั ของเนอื้ หา พื้นที่ว่างสีดา และเรียบง่าย ทาให้รูปร่าง รูปทรงเด่นชัดตามท่าทางการแสดงออกของสัญลักษณ์ของเนื้อหา น้าหนัก และ พ้ืนผิวของเส้น ทาให้ภาพดูน่าสนใจ ขนาดสัดส่วนมีความใกล้เคียงกัน ทาให้เกิดความเป็นเอกภาพของเนื้อหาที่เชื่อมโยง กันทั้งภาพ ส่วนภาพปฏิจจสมุปบาท การใช้เส้น สี รูปร่าง รูปทรงมีความเป็นจริง การทับซ้อนบังกัน เกาะเกี่ยวกัน เป็นไป ตามเน้ือหา และตามความเป็นจริงท่ีเกิดจากสี น้าหนัก พ้ืนผิวท่ีจบเป็นภาพ และต่อเนื่องสัมพันธ์เป็นวัฏฏสงสารกันท้ังหมด ตามแนวความคิดของภาพปริศนาธรรม
  151
           
































































































   159   160   161   162   163