Page 163 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 163

   บททีี่่ 4 กํารสังเครําะห์จิตรกรรมปริศนําธรรม แนวเรื่อง อริยสัจจ์ 4
การสังเคราะห์จิตรกรรมปริศนาธรรม แนวเร่ืองอริยสัจจ์ 4 เกิดจากการวิเคราะห์ปริศนาธรรมในภาคใต้ของ สมยั ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทรช์ ว่ งรชั กาลที่ 1-9 โดยจากการสรปุ โครงสรา้ งองคป์ ระกอบศลิ ป์ ดา้ นรปู แบบ เทคนคิ เชงิ ชา่ ง เนอื้ หาสาระ คติความเชื่อ และสัญลักษณ์ของการแสดงออกของแนวเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท ไตรลักษณ์ ไตรภูมิ ธุดงค์ 13 อสุภะ 10 วรรณคดีรามายณะ และวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ และภาพปริศนาธรรมในโรงมหรสพทางวิญญาณ นามาสังเคราะห์ เพื่อให้เกิดแนวคิดใหม่ นัยใหม่ โดยใช้หลักการแนวคิดเชิงสังเคราะห์ 7 ขั้นบันได เพื่อนาไปสู่หลักการแนวคิดใหม่ แนวเรื่อง อริยสัจจ์ 4 (ความจริงอันประเสริฐ) โดยใช้หลักการวิธีคิดวิธีทา ดังนี้
กํารคิดเชิงสร้ํางสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดท่ีจะดึงองค์ประกอบต่างๆมาหลอมรวมหรือถักทอ ภายใต้โครงสร้างใหม่อย่างเหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, 2546: 16)
1) กํารคิดเชิงสังเครําะห์เพื่อกํารสร้ําง “แนวคิดใหม่” อันเป็นการพัฒนาและคิดค้นแนวความคิดใหม่ๆ ใน ประเด็นต่างๆ ตามที่เราต้ังวัตถุประสงค์ไว้ หากสามารถคิดสังเคราะห์ได้ดี จะทาให้เราสามารถพัฒนาความคิดหรือสิ่งใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน องค์กร การคิดเชิงสังเคราะห์เพื่อการสร้างสรรค์สิ่งใหม่โดยมีเทคนิคหรือวิธีการฝึกคิดเชิง สังเคราะห์ (เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักดิ์, 2546: 40-48)
2) หลักจินตนํากํารสร้ํางสรรค์ หลักการฝึกฝนการคิดสังเคราะห์ที่ดีที่สุด คือการใช้จินตนาการในการ คิดสร้างสรรค์ โดยลองฝึกผสมผสานสิ่งต่างๆ ที่ไม่มีความสัมพันธ์กัน ถักทอเช่ือมโยงเข้าด้วยกันให้เกิดสิ่งใหม่ที่ใช้ประโยชน์
ใหม่ได้
3) หลักกํารสังเครําะห์ส่วนประกอบ (morphological synthesis) เทคนิคน้ีเร่ิมจากการต้ังวัตถุประสงค์
ว่าต้องการจะคิดเชิงสังเคราะห์ในเรื่องใด จากน้ันให้เขียนรายงานของลักษณะที่เกี่ยวข้องกับแง่มุมหน่ึงของสิ่งที่ต้องการ ไว้ในแถบอีกด้านหน่ึง เราจะได้ช่วงตัดระหว่างรายการสองลักษณะที่เก่ียวข้องทั้งสองท่ีเป็นผลของการสังเคราะห์สิ่ง 2 สิ่ง ผสมผสาน เราสามารถขยายมิติของการสังเคราะห์ได้มากกว่า 2 มิติ หรือมากกว่า 3 มิติ ตามวัตถุประสงค์
หลักขยับส่วนผสม (Synthesizer) เป็นหลักการเดียวกับการผสมผสานเสียง ท่ีมีเสียงหลากหลายนามาผสมให้ ไดเ้ สยี งตามทเี่ ราตอ้ งการ มคี วามถแ่ี ละความดงั ในระดบั ตา่ งๆเขา้ ดว้ ยกนั ใหเ้ หมาะสมเมอื่ นา หลกั การนม้ี าผสมผสานสง่ิ ตา่ งๆ ตามระดับหรือเฉดที่ต่างกัน ย่อมทาให้เกิดการสังเคราะห์สิ่งใหม่ขึ้น
  153
           
























































































   161   162   163   164   165