Page 165 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 165

  ข้ันที่ 2 กํารกําหนดขอบเขตของประเด็นท่ีเกี่ยวข้อง
เพอื่ จะใชเ้ ปน็ กรอบเบอื้ งตน้ ในการคน้ หาแหลง่ ขอ้ มลู โดยอาจเรมิ่ ตน้ ทคี่ วามคดิ ความรู้ ความจา หรอื ประสบการณ์ เดิมที่เรามีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวว่า หากเราจะเริ่มทาการสังเคราะห์จะต้องมีประเด็นอะไรเข้ามาเกี่ยวข้องบ้าง
ประเด็นในกํารสังเครําะห์ภําพปริศนําธรรมแนวเร่ือง อริยสัจจ์ 4
การกาหนดขอบเขตของประเด็นที่เกี่ยวข้องเปรียบเสมือนการหล่อแบบพิมพ์ไว้ เพื่อเตรียมข้อมูลต่างๆ ท่ี ผสมผสานกันแล้วลงในแม่พิมพ์จนได้รูปลักษณ์และคุณภาพตามท่ีต้องการ
ประเด็นท่ี 1 การแสดงออกในโครงสร้างองค์ประกอบศิลป์ มีผลกับการสื่อนัยของแนวเรื่องปริศนาธรรม 1) ขอบเขตของรูปแบบการประกอบกันของรูปทรง
2) ขอบเขตของเน้ือหา
3) การเปรียบเทียบแนวเร่ืองในปริศนาธรรมของภาคใต้สู่แนวเรื่อง อริยสัจจ์ 4
ประเด็นที่ 2 การสังเคราะห์แนวคิดใหม่ แนวเรื่อง อริยสัจจ์ 4 จากแนวเร่ืองในปริศนาธรรมของภาคใต้ 1) ขอบเขตของรูปแบบเสมือนจริง
2) ขอบเขตของเน้ือหาอริยสัจจ์ 4 (ทุกข์ ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา)
3) ขอบเขตของเทคนิควิธีการบูรณาการนวัตศิลป์
ประเด็นที่ 3 การสร้างนวัตศิลป์ ทาให้เกิดผลต่อการรับรู้ภาพปริศนาธรรมท่ีดีข้ึน - ศิลปะ
- วิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ - เทคโนโลยี
ข้ันท่ี 3 กํารกําหนดลักษณะและขอบเขตของสิ่งที่จะนํามําสังเครําะห์ วิธีคิด 1. กํารกําหนดลักษณะกํารสังเครําะห์
- คัดเลือกเฉพาะข้อมูลจากแหล่งที่ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
- จากงานวิชาการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ภาพปริศนาธรรม - จากผู้เชี่ยวชาญแนวทางการสังเคราะห์ผลงานของศิลปิน
2. กําหนดขอบเขตกํารสังเครําะห์
- ต้องการเฉพาะข้อมูลจิตรกรรมฝาผนังของภาคใต้
- ต้องการข้อมูลต้ังแต่อดีตจนถึงอนาคตที่มีการคาดการณ์ไว้จานวนมากพอที่จะทาให้ได้ข้อมูล
ครบถ้วน ชัดเจน และนาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูลภาพปริศนาธรรม ช่วงรัชกาลท่ี 1 ถึง รัชกาลที่ 9
    155
          














































































   163   164   165   166   167