Page 169 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 169

  การสงั เคราะหผ์ ลงานโดยการแปลงรปู รา่ งรปู ทรงเปน็ เชงิ สญั ลกั ษณใ์ ชว้ สั ดทุ งั้ ธรรมชาตแิ ละสงั เคราะหเ์ ปน็ สอื่ แสดงออกให้เกิดการเคลื่อนไหวกับรูปธรรมและนามธรรม
การสร้างสรรค์ผลงานจินตภาพสมมติ และจิตรกรรมปริศนาธรรม 3 มิติ ชุดนี้นาแนวทางการสร้างสรรค์ผล งานของศาสตราจารย์วิโชค มุกดามณีโดยการแปลงรูปร่างรูปทรงให้เป็นเชิงสัญลักษณ์ ในขั้นตอนการวิเคราะห์สังเคราะห์ สญั ลกั ษณข์ องการแสดงออกของรปู ทรงสจู่ นิ ตภาพสมมตใิ หเ้ กดิ ความเปน็ เอกภาพในรปู ธรรมโดยการผสมผสานและประกอบ กนั ของรปู ทรงกบั จติ ใจทมี่ คี วามรสู้ กึ กบั เนอื้ หาความเปน็ เอกภาพและในแตล่ ะชดุ ของผลงานจะตอ้ งวเิ คราะห์ อธบิ ายถงึ การ เชื่อมโยงความแตกต่างคุณค่าความงามในชุดองค์ความรู้ในการสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาผลงานในแต่ละชุด ท้ัง 2 ชุด
      - วิเคราะห์
- สังเคราะห์
- แปลงรูปทรงเชิง
สัญลักษณ์รูปแบบ
 - วัสดุสังเคราะห์
- การประกอบกันของ
รูปร่าง - รูปทรง - รูปทรง + จิตใจ
- ความรู้สึก
- จินตนาการ
- เนื้อหาสาระ
- ลักษณะเฉพาะตน
 พัฒนําผลงําน
จนิ ตภําพสมมติและ จิตรกรรมปริศนํา ธรรม แนวเรื่อง อริยสัจจ์ 4
  ผลงํานจินตภําพ
สมมติ และ จิตรกรรมปริศนา ธรรม 3 มิติ
  - วิเคราะห์ - อธิบายผล
     ภําพที่ 4-2 การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของศาสตราจารย์วิโชค มุกดามณีผสมผสานกับแนวทางเฉพาะตน
3. กระบวนกํารสร้ํางสรรค์ผลงํานของ ขรัว อินโข่ง
สรุป การสังเคราะห์ผลงานภาพปริศนาธรรมในจิตรกรรมฝาผนังวัดบวรนิเวศ ของ ขรัว อินโข่ง ซึ่งสอดรับกับ พระราชประสงค์การเขียนภาพตามแบบศิลปะตะวันตก ท่ีมีรูปแบบ แนวคิด เนื้อหา การจัดองค์ประกอบ ทฤษฎีที่ใช้ในการ สร้างงาน สร้างรูปทรงให้สอดคล้องกับเนื้อหา พระรัตนตรัย เป็นการปฏิวัติการเขียนภาพแบบจารีตประเพณีที่มีมา ทาให้ เทคนิคองค์ความรู้น้ีเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์งานพุทธศิลป์ ให้กับวัดอ่ืนในภาคใต้ และวัดอื่นๆ ในภาคกลาง ในสมัยต่อมาจนถึงปัจจุบัน และนาเทคนิคการสร้างสรรค์ดังกล่าวมาสร้างสรรค์ผลงานภาพปริศนาธรรมทั้ง 2 ชุด
     159
          












































































   167   168   169   170   171