Page 173 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 173

  วิธีทํา
กํารดึงแนวควํามคิด (Concept) มาสังเคราะห์แนวคิดใหม่ จากการวิเคราะห์ภาพปริศนาธรรมของภาคใต้ ทั้ง 2 กลุ่ม สรุปผลมโนทัศน์ที่มีความชัดเจนของแนวเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท ไตรลักษณ์ ไตรภูมิ อสุภะ 10 ธุดงค์ 13 วรรณคดี รามายณะ วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ และสมุดภาพปริศนาธรรมไทย ภาพแกะสลักไม้ของเชอแมน นามาสังเคราะห์ ให้สอดคล้องกับแนวเรื่อง อริยสัจจ์ 4 ตามแนวทางของศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง ดังน้ี
1) แนวควํามคิด
1.1 แรงดลใจ มาจากการศึกษาวิเคราะห์ ข้อมูลภาพปริศนาธรรม ในจิตรกรรมฝาผนัง ภาคใต้ ของวัดโพธ์ิ ปฐมาวาส และวดั อน่ื ๆใน ภาคใต(้ ชว่ งรชั กาลที่ 1-9) และภาพปรศิ นาธรรมของทา่ นพทุ ธทาสภกิ ขุ ในโรงมหรสพทางวญิ ญาณ ณ สวนโมกขพลาราม ซึ่งเป็นการสรุปผลเชิงมโนทัศน์
1.2 แนวคดิ นา องคค์ วามรจู้ ากการวเิ คราะหภ์ าพปรศิ นาธรรมในภาคใต้ (ชว่ งรชั กาลท่ี 1-9) ดา้ นรปู แบบ เทคนคิ เชิงช่าง เน้ือหาสาระ คติความเช่ือ การจัดองค์ประกอบศิลป์ และสัญลักษณ์ของการแสดงออก (ตารางที่ 2-1 ถึง ตาราง ท่ี 2-7) และ (ตารางที่ 3-1 ถึง ตารางท่ี 3-6) นามาสู่การสังเคราะห์จินตภาพสมมติ แนวเร่ืองอริยสัจจ์ 4 และการสังเคราะห์ ภาพปริศนาธรรม ให้มีความเชื่อมโยงเชิงเหตุผล
1.3 กํารตีควําม จากข้อมูลการวิเคราะห์ สัญลักษณ์การแสดงออกของแนวเรื่องในภาพปริศนาธรรม สู่การ สังเคราะห์จินตภาพสมมติ ดังเช่น แนวเรื่องปฏิจจสมุปบาท ไตรลักษณ์ ธุดงค์ 13 สมุดภาพปริศนาธรรมไทย เป็นต้น เช่ือมโยงหลักองค์ประกอบศิลป์
กํารสังเครําะห์แนวเร่ือง อริยสัจจ์ 4 เช่ือมโยงหลักองค์ประกอบศิลป์ของแนวเรื่องปริศนําธรรมในภําคใต้
   หลักองค์ประกอบศิลป์
 แนวเรื่องปริศนําธรรม ช่วงรัชกําลที่ 1-9
 กํารสังเครําะห์ ปริศนําธรรม
  แนวเรื่อง
     ปฏิจจสมุปบาท
 ทุกข์
ความทุกข์ สภาพที่ ทนได้ยาก
   ไตรลักษณ์
 ไตรภูมิ (นรกภูมิ)
       วรรณคดีรามายณะ
        163
          
















































































   171   172   173   174   175