Page 175 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 175
2) ควํามงําม
2.1 รูปแบบ ลักษณะผลงานการสังเคราะห์จิตรกรรมปริศนาธรรม ท่ีมีลักษณะตามความคิดเห็นเฉพาะตน
เน้นโครงสร้างองค์ประกอบใหม่
2.2 แนวเรื่อง นาองค์ความรู้จากการวิเคราะห์ ภาพปริศนาธรรมของภาคใต้ ( สมัยรัชกาลที่ 1-9) นามา
สังเคราะห์จินตภาพสมมติ ตามแนวทางของศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง ให้เกิดชุดความรู้ 2 ชุด สะท้อนหลักธรรมคาสอน ของพระพุทธศาสนา แนวเร่ืองอริยสัจจ์ 4 (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) ท่ีประกอบไปด้วยเอกภาพของรูปทรง การแสดงออก ความคิด ให้เกิดความงามทั้งรูปทรงและเน้ือหา
2.3 เทคนคิ วธิ กี ําร เทคนคิ ทางจติ รกรรม ผสมผสานนวตั ศลิ ป์ เนน้ กระบวนการคดิ สงั เคราะห์ ทางนวตั กรรม ใหม่ ด้วยการผสมผสานความรู้ศิลปะเทคนิคทางจิตรกรรม (สุนทรียะ) และวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี เป็นฐาน
2.4 กํารแสดงออก เป็นการแสดงออกจากความรู้สึกเฉพาะตนโดยการจัดสรรองค์ประกอบใหม่ ด้วยการ ผสมผสาน ของสัญลักษณ์การแสดงออกของรูปทรงท่ีสัมพันธ์กับเนื้อหาอริยสัจจ์ 4 ให้เกิดความเป็นเอกภาพ เพ่ือดึงดูด อารมณ์ความรู้สึกและความสนใจของคนดูให้เห็นถึงความงามและนาไปสู่การศึกษาเนื้อหาอริยสัจจ์ 4 ต่อไป
3) ควํามหมําย
3.1 เนื้อหําสําระ การสังเคราะห์ภาพปริศนาธรรม โดยแฝงนัยในผลงานท่ีสะท้อนถึง เน้ือหาสาระทาง
พุทธศาสนา คือ อริยสัจจ์ 4 (ความจริงอังประเสริฐ) ความจริงท่ีทาให้ผู้ท่ีเข้าถึงกลายเป็นอริยะ อันจะทาให้เกิดปัญญา ในการรู้เท่าทันความทุกข์ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจาวันของโลกมนุษย์
วิธีการสังเคราะห์ภาพปริศนาธรรม เกิดจากการวิเคราะห์ ภาพปริศนาธรรมในภาคใต้ ด้านรูปแบบ เทคนิค เชิงช่าง เนื้อหาสาระ คติความเชื่อ องค์ประกอบศิลป์ และสัญลักษณ์ของการแสดงออก โดยนาองค์ความรู้จากการวิเคราะห์ มาสังเคราะห์ ทาให้เกิดเป็นนวัตศิลป์ใหม่ ด้วย โครงสร้างทางองค์ประกอบใหม่ มีคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เป็นฐาน แต่มีความเป็นเอกภาพของรูปทรงกับเน้ือหา ผู้คนมีส่วนร่วม และเป็นส่วนหน่ึงของผลงานด้วย
สรุป การดึงแนวคิดสู่การสังเคราะห์ปริศนาธรรม แนวเรื่อง อริยสัจจ์ 4 เกิดจากการวิเคราะห์ภาพปริศนาธรรม ในภาคใต้ ด้านรูปแบบ เทคนิคเชิงช่าง เนื้อหาสาระ คติความเชื่อ องค์ประกอบศิลป์ และสัญลักษณ์ของการแสดงออก เกิดองค์ความรู้เชิงมโนทัศน์ นามาสังเคราะห์ให้มีความสอดคล้อง ดังเช่น เนื้อหาของความทุกข์ ก็จะประกอบด้วย แนวเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท ไตรลักษณ์ ไตรภูมิ อสุภะ 10 ธุดงค์ 13 วรรณคดีรามายณะท่ีสอดคล้องสัมพันธ์กันด้วยเนื้อหา คติความเชื่อ และสัญลักษณ์ของการแสดงออก เทคนิควิธีการ (ตารางที่ 4-1 ตารางที่ 4-2 และตารางท่ี 4-3)
165