Page 209 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 209

  วิธีทํา นาผลการวิเคราะห์ แนวเร่ืองในภาพปริศนาธรรมของภาคใต้และสรุปผลสัญลักษณ์ของการแสดงออก (ตารางที่ 4-1 และตารางที่ 4-2) นามาสร้างสรรค์องค์ประกอบใหม่ เกิดแนวคิดใหม่ให้มีเอกภาพของรูปทรงกับเน้ือหา แนวเรื่องอริยสัจจ์ 4 (ทุกขนิโรธ และทุกขนิโรธ คามินีปฏิปทา) โดยมีความสอดคล้องของรูปแบบ แนวเรื่อง เทคนิควิธีการ และการแสดงออกทมี่ ลี กั ษณะเฉพาะตนใหม้ คี วามเหมาะสมกบั พนื้ ทภี่ าพในเจดยี พ์ ทุ ธคยา เพอื่ สง่ เสรมิ การเรยี นรหู้ ลกั ธรรม คาสอนของพระพุทธเจ้า ผู้ดูชมมีส่วนร่วมในผลงาน
การสร้างความสัมพันธ์ของการประสานกันของรูปทรงให้มีการทับซ้อนบังกัน เก่ียวกันตามความคิดเห็นเพ่ือให้ เกิดมิติ ตามความเป็นจริง ด้วยการลดขนาดสัดส่วนแสงเงาให้สอดคล้องกับการถ่ายภาพ ซ่ึงคนเข้าไปมีส่วนร่วมในผลงาน โดยมีจุดถ่ายภาพและจุดท่ีคนมีส่วนร่วม ซึ่งจะต้องใช้หลักทัศนียวิทยา (Perspective) และการสร้างภาพลวงตาด้วยรูปทรง สี บรรยากาศ อันสอดคล้องกับเน้ือหาอริยสัจจ์ 4 ผสมผสานกับแนวทางการสร้างสรรค์ของศาสตราจารย์วิโชค มุกดามณี ในการใช้รูปทรงแสดงออกสัญลักษณ์ของคาสอนของพระพุทธเจ้า และขรัว อินโข่ง ในการใช้เทคนิคการวาดภาพตามหลัก ทัศนียวิทยา (Perspective) แบบตะวันตกท่ีมีมิติสมจริง การสร้างมิติใกล้ไกล เกิดแสงเงาตามความเป็นจริงและการใช้ สัญลักษณ์รูปทรงส่ือนัยคาสอนให้เกิดปริศนาธรรมนามาซ่ึงการตีความหมาย ขบคิดอันจะนาไปสู่การเรียนรู้ศึกษาธรรมะ และใช้หลักการความเป็นนวัตศิลป์และให้ผู้คนมีส่วนร่วมในผลงาน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ชุดความรู้เหล่าน้ีจะช่วยเปิดโลกทัศน์ การค้นพบในแง่มุมใหม่ๆ วิธีคิดแบบใหม่ๆ และหลักการทฤษฎีอันจะ กอ่ ประโยชนต์ อ่ การนา ไปคดิ ตอ่ หรอื ตดิ ตามตอ่ ไป โดยเฉพาะการตงั้ ประเดน็ ปญั หาหรอื โจทยใ์ นการวจิ ยั การเรมิ่ ตน้ จากการ สกัดเอาความรู้ของภาพปริศนาธรรมที่มีความสาคัญสอดคล้องกับแนวเรื่องอริยสัจจ์ 4 นามาจัดกรอบแนวความคิด ประเด็นใหม่ ท่ีน่าสนใจ ให้มีความหมายใหม่ เกิดเป็นชุดความรู้การสังเคราะห์จินตภาพสมมติสู่การสังเคราะห์ภาพปริศนา ธรรมแนวเรื่อง อริยสัจจ์ 4 ผสมผสานความเป็นนวัตศิลป์ที่มีแนวคิดใหม่ ทั้ง 2 ชุด
ขั้นที่ 6 ขั้นทดสอบโครงร่ํางใหม่
เม่ือเราได้โครงร่างการสังเคราะห์ท่ีมีเน้ือหาครบถ้วนแล้ว ให้เราทดสอบโครงร่างการสังเคราะห์น้ัน เม่ือพิจารณา ว่าโครงร่างใหม่ที่สร้างขึ้นมีความเหมาะสมหรือไม่ ดีท่ีสุดแล้วหรือยัง โดยใช้ความคิดเชิงวิพากย์และความคิดเชิงวิเคราะห์ เข้าร่วมในการทดสอบด้วย โดยตั้งคาถาม เช่น
- ประเด็นน้ีจัดวางอยู่ที่ตาแหน่งน้ี จะดีที่สุดหรือไม่
- สามารถขยับปรับเปล่ียนให้เหมาะสม ได้หรือไม่ ฯลฯ
ลองนาโครงร่างการสังเคราะห์ดังกล่าวไปทดสอบ เพื่อทดสอบดูว่าสามารถใช้การได้อย่างเหมาะสมหรือไม่
มีส่ิงใดต้องปรับเปลี่ยน และนาไปปรับปรุงให้สมบูรณ์แบบต่อไป เพื่อลดจุดบกพร่อง และให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์ท่ีสุด จากการสังเคราะห์ภาพปริศนาธรรม แนวเรื่อง อริยสัจจ์ 4 ท้ังหมด 24 ภาพ โดยมีภาพแสดงถึงเนื้อหาของทุกข์ (A) ทุกขสมุทัย (B) ทุกขนิโรธ (C) ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา (D) ซ่ึงมีความต่อเน่ืองสัมพันธ์กัน เพื่อให้ผู้ดูชมได้เรียนรู้อย่าง ต่อเนื่องนาไปสู่ปัญญา นาไปติดต้ังภายในเจดีย์พุทธคยาตามแผนผัง (ภาพที่ 4-19) และมีความนวัตศิลป์ และติดตั้ง
   199
          
























































































   207   208   209   210   211