Page 213 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 213

  กํารวิเครําะห์เนื้อหําสําระ ผลงานทั้ง 2 ชุดมีเน้ือหาสาระ แนวเรื่องอริยสัจจ์ 4 (ทุกข์ ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ ทกุ ขนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา) สอดคลอ้ งกบั รปู ทรงทม่ี คี วามเปน็ 3 มติ ิ แฝงดว้ ยคตคิ วามเชอ่ื การทา ดที า ได้ ทา ชวั่ ไดช้ ว่ั การยดึ ตดิ กิเลส มายาสิ่งหลอกลวง อันเป็นอวิชชา เป็นเครื่องขัดขวางทางไปนิพพาน ซึ่งจะต้องใช้หลักมรรคมี องค์ 8 และอริยสัจ จ์ 4 อันเป็นความจริงอันประเสริฐ นาไปสู่ปัญญาในการดาเนินชีวิตในชีวิตประจาในสังคมปัจจุบัน ซึ่งเนื้อหาของภาพ ในรอบท่ี 2 ปัญญาในเจดีย์พุทธคยา ประกอบด้วย เน้ือหาตามลาดับ โดยเริ่มจากภาพ A ทุกข์ B ทุกขสมุทัย C ทุกขนิโรธ D ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ผู้คนสังคมได้เกิดการรับรู้ ประสบการณ์ ที่มีความงาม ความดี ความจริง ของหลักธรรมคาสอน ของพระพุทธเจ้า ผ่านผลงานจิตรกรรม
กํารวิเครําะห์เทคนิควิธีกําร การแสดงออกของผลงานท้ัง 2 ชุดนี้ มีเทคนิคการวางภาพจิตรกรรมและการ ผสมผสาน กบั การจดั วางภาพเพอื่ ทา ใหภ้ าพมมี ติ สิ มจรงิ คนเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในผลงานอนั จะทา ใหเ้ กดิ ผสั สะ การรบั รขู้ องคน ได้ดีขึ้น แต่สร้างความเป็นเอกภาพของคนและผลงานด้วยมุมมอง การสร้างมิติลวงตา ขนาดสัดส่วนตามธรรมชาติ เกิดมิติ ใกล้ กลาง ไกลท่ีดูสมจริง ซึ่งการสร้างเทคนิคของคนเข้าไปในผลงานและอยู่นอกผลงาน โดยใช้เทคนิควิธีการสร้างระยะ และมิติ เข้าเป็นส่วนประกอบสาคัญในการสังเคราะห์ภาพปริศนาธรรม
ระยะและมิติ (dimension) เป็นส่วนประกอบที่ช่วยสร้างภาพให้มีความลึกที่สมจริง โดยใช้ทัศนธาตุ คือ เส้น สี น้าหนัก แสง เงา และผิว เป็นองค์ประกอบของการสร้างสรรค์ (สุชาติ เถาทอง, 2539: 148)
เทคนิควิธีกํารสร้ํางระยะและมิติของคนให้เกิดมิติ ท่ี 3
1) เกิดจากรูปทรงในธรรมชาติ ใช้เทคนิคการเขียนภาพให้น้าหนัก แสง เงา ตามความจริงในธรรมชาติ ดังเช่น รูปทรง คน สัตว์ ธรรมชาติ ฯลฯ รูปทรงด้านหน้า แสงจัด เงาจัด และพร่ามัวไปตามลาดับ ในระยะกลางไกล มีการทับซ้อน บดบังกันไปตามลาดับ (ภาพที่ 4- 23)
ภําพที่ 4-23 แสดงการสร้างมิติท่ี 3 203
 4
3
2
1
                  
























































































   211   212   213   214   215