Page 214 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 214
2) เกิดจํากลักษณะของทัศนธําตุ
2.1 ทศิ ทํางของเสน้ สรา้ งมติ ดิ ว้ ยการใชเ้ สน้ ทแยงและเสน้ เฉยี งพงุ่ เขา้ ไปในภาพ โดยมเี สน้ ขวางเปน็ เสน้ นอก
ทาให้ภาพเกิดมิติลวงตา เกิดความลึก (3 มิติ)
ภําพที่ 4-24 แสดงการใช้เส้นเฉียง สร้างมิติ
2.2 ขนําดใหญ่เล็กของรูปทรง รูปทรงท่ีอยู่ด้านหน้า มีขนาดใหญ่ ระยะไกล รูปทรงมีขนาดเล็กตามลาดับ และแสงเงา พ้ืนผิวชัดเจน และพร่ามัวตามลาดับ ทาให้เกิดความรู้สึกถึงมิติ (ภาพที่ 4-23 และ 4-24) และการทับซ้อนกัน
ของรูปทรง
2.3 ควํามคมชัด เส้นและรูปทรง แสง เงา มีความคมชัดต่างกัน ทาให้เกิดมิติระยะใกล้ กลางไกล วิธีนี้
ให้ความรู้สึกเรื่องบรรยากาศ (Atmospheric space) ส่วนที่พร่าจะจมอยู่ในบรรยากาศและดูไกลออกไป (ภาพที่ 4-14) 2.4 ควํามจัดของสี เส้นหรือรูปทรงท่ีมีสีจัดจะให้ความรู้สึกอยู่ใกล้ ส่วนสีท่ีหม่นลงจะถอยไกลเข้าไปในภาพ
เป็นส่วนประกอบระยะลึกของภาพ ซ่ึงปรากฏเทคนิควิธีการนี้ ทุกภาพ
2.5 กํารสร้ํางควํามรู้สึกของระยะมิติด้วยหลักวิชํากํารทัศนียภําพวิทยํา (Perspective) คือการสร้าง
ระยะไกลใกล้ ขนาดสัดส่วนของรูปทรงอยู่ในหลักการมุมมองและเส้นระดับสายตา
204