Page 80 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 80

  ปริศนาธรรมในวัดชลธาราสิงเห ที่ช่างท้องถิ่นวาดภาพแทรกไว้ในภาพพุทธประวัติ เป็นส่วนประกอบรองและช่วยเสริมให้ ภาพเน้ือหาหลักมีความสมบูรณ์และเป็นภาพสะท้อนวิถีชีวิต สังคม ศิลปวัฒนธรรมในภาคใต้
ปฏจิ จสมปุ บําท มอี งคห์ รอื หวั ขอ้ 12 การเกดิ ขนึ้ พรอ้ มแหง่ ธรรมทงั้ หลายเพราะอาศยั กนั ธรรมทอี่ าศยั กนั เกดิ ขนึ้ พร้อมกัน การที่ส่ิงท้ังหลายอาศัยกันๆ จึงเกิดมีข้ึน
น้า3สระถูกช้างกิน เท่ากับ ช้างถูกเขียดกิน เท่ากับ เขียดถูกงูกิน เท่ากับ งูถูกนกกิน เท่ากับ นกเกาะต้นอ้อ เท่ากับ รากอ้อถูกหนูแทะ เท่ากับ
ผัสสะ ให้เกิดเวทนํา เวทนํา ให้เกิดตัณหํา ตัณหํา ให้เกิด อุปําทําน อุปําทําน ให้เกิด ภพ
ภพ ให้เกิด ชําติ (ความเกิดคือร่างกายเป็นต้นอ้อ)
ชําติ คือร่างกาย ให้เกิด ประสบควํามเกิด แก่ เจ็บ ตําย บีบค้ันตลอดเวลา ภาพปฏิจจสมุปบาท เป็นภาพของกิเลสและเป็นภาพของร่างกายอันเป็นที่ต้ังของจิต ที่ประกอบด้วยกิเลสด้วย
เป็นภาพความทุกข์ อันเน่ืองจากกิเลสและความเกิด แก่ เจ็บ ตาย คือหนู 4 ตัวด้วย มันเกี่ยวกันอยู่อย่างน้ี เนื้อหําที่แสดงถึงธุดงค์ 13 เป็นภาพระเบียบปฏิบัติของพระสงฆ์ตอนปังสุกูลิกังคธุดงค์ ซ่ึงหมายความว่า ภิกษุ ผู้ถือปังสุกูลกังคะ ย่อมไม่รับจีวรจากบุคคลใด แต่จะเท่ียวแสวงหาเฉพาะผ้าบังสุกุลท่ีห่อซากศพทิ้งไว้ในป่าช้า นามาย้อม ทาเป็นจีวร แล้วนามาห่มเป็นจีวร (วรรณิภา ณ สงขลา, 2534: 100) ผนังด้านทิศเหนือปรากฏภาพเฉพาะเป็นภาพพระภิกษุ กาลังซักผ้าบังสุกุล จากวินีลกะอสุภะ คือซากศพท่ีมีสีเขียวคล้า ท่ีกลัดหนองเป็นสีขาว จากภาพช่างเขียนจะให้ความสาคัญ กับรายละเอียดท่ีพระสงฆ์กาลังดึงผ้าออกจากศพเห็นใบหน้าสีเทาดาและใช้ไม้เท้าค้ายันศพเอาไว้ เป็นการถ่ายทอดภาพ
เป็นอากับกิริยาท่าทางตามความเป็นจริง ตามแบบศิลปะตะวันตก (ภาพท่ี 2-25)
เน้ือหําท่ีแสดงถึงเร่ืองอสุภะ 10 เป็นภาพการปลงอสุภกรรมฐาน ตอนอัฏฐิกะกรรมฐาน คือ ซากศพท่ีเน้ือเลือด
หมดแล้วยังเหลือแต่กระดูก ถือเป็นกิจข้อหน่ึงของพระภิกษุสงฆ์ จะต้องถือการอยู่ในป่าช้า การไปพิจารณาซากศพในป่าช้า อยู่เป็นนิจ ในสภาพต่างๆ เช่น ศพเน่าเปื่อย เขียวคล้า มีน้าเหลืองฯลฯ (วรรณิภา ณ สงขลา, 2534: 101) ปรากฏผนัง ด้านหน้าพระประธาน ช่างเขียนข้ึนเพื่อเป็นมรณะสติให้แก่พระสงฆ์และบุคคลท้ังหลายได้พึงระลึกถึงความจริงแห่งสังขาร (ไตรลักษณ์) ว่ามีการเกิดย่อมมีการดับสูญ และเม่ือดับสูญความงดงามย่อมมีสภาพดับสูญไปด้วยเพื่อพิจารณาถึงการ เกิดดับและความไม่เที่ยงแท้ของสังขาร (ภาพท่ี 2-2)
    70
          























































































   78   79   80   81   82