Page 82 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 82
เนอื้ หําพระมําลยั มกั แทรกอยใู่ นภําพไตรภมู ิ เปน็ การกลา่ วถงึ พระอรหนั ตอ์ งคห์ นงึ่ อยู่ ณ โรหชนบทในลงั กาทวปี สาเร็จอภิญาณ ณ สมาบัติมีฤทธ์ิเสมอด้วยพระโมคคัลลาน์ ได้ลงไปโปรดสัตว์ในนรก และได้รับดอกบัว 8 ดอกจาก ชายเขญ็ ใจทเี่ กบ็ ดอกบวั จากสระนา้ เพอื่ ไปบชู าพระเจดยี จ์ ฬุ ามณบี นสวรรคช์ นั้ ดาวดงึ สแ์ ละไดพ้ บพระอนิ ทรแ์ ละพระศรอี ารยี ์ เมอื่ พระมาลยั กลบั จากนรกและสวรรค์ จะมาเทศนาสงั่ สอนใหป้ ระชาชนใหก้ ลวั บาปหมนั่ ทา บญุ ทา กศุ ล (วรรณภิ า ณ สงขลา, 2537: 110) ดังปรากฏบริเวณผนังด้านทิศเหนือ จิตรกรรมฝาผนังในวัดโพธ์ิปฐมมาวาส ปรากฏภาพชายเข็ญใจเก็บดอกบัว ไว้ผมปีกตามความนิยมในสมัยรัตนโกสินทร์ เพื่อนามาถวายพระมาลัย ซ่ึงเป็นตอนที่นิยมนามาเขียนในงานจิตรกรรม โดยเฉพาะงานจติ รกรรมในสมดุ ขอ่ ยอกี ทั้งชว่ งเวลานนั้ พบวา่ ในภาคใตเ้ องกม็ กี ารเขยี นเรอื่ งราวของพระมาลยั ในหนงั สอื บุด หรือสมุดข่อยอย่างแพร่หลาย (สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์, 2530: 69) (ภาพที่ 2-27)
ภําพที่ 2-27 ภาพพระมาลัยและชายเข็ญใจกาลังเก็บดอกบัวในสระ
เน้ือหําสําระเร่ืองไตรภูมิ ช่างท้องถ่ินมีอิสระในการเลือกเนื้อหารูปแบบการแสดงออกท่ีเป็นส่วนตัว ดังปรากฏ การเขียนภาพตามคติความเชื่อในไตรภูมิตามช่างหลวงภาคกลางผสมผสานกับคติความเชื่อท้องถ่ินภาคใต้ ทั้งเนื้อหาหลัก และภาพแทรกในเนื้อหาพุทธประวัติทศชาดก
72