Page 84 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 84

  แสดงเนื้อหาความเช่ือไตรภูมิในพุทธศาสนา ด้วยภาพวิถีชีวิต สังคม ประเพณีท้องถิ่นและการละเล่น เช่น การแห่หมับ วิเคราะห์จากภาพจิตรกรรมฝาผนังภาคใต้
เนื้อหําแนวเร่ือง ไตรลักษณ์ เป็นธรรมะที่ทาให้เป็นพระอริยะ (อริยกรธรรม) แปลว่า ลักษณะ 3 ประการ หมายถึงสามัญลักษณะ คือ กฎธรรมดาของสรรพสิ่งท้ังปวง อันได้แก่ อนิจจลักษณะ ลักษณะไม่เที่ยง มีการแปรเปล่ียนไป เป็นธรรมดา ทุกขลักษณะ ลักษณะทนอยู่ตลอดไปไม่ได้ ถูกบีบค้ันด้วยอานาจของธรรมชาติทาให้ทุกสิ่งไม่สามารถทนอยู่ ในสภาพเดิมได้ตลอดไป และ อนัตตลักษณะ ลักษณะไม่สามารถบังคับบัญชาให้เป็นไปตามต้องการได้
ดังเช่น ภาพการฝังศพและการเผาศพแบบสามส้างของชาวท้องถ่ินภาคใต้ การฝังศพด้วยฮวงซุ้ยของชาวจีน การ แหเ่ จา้ เซน็ ของชาวมสุ ลมิ ชา่ งจะผสมผสานไวใ้ นผนงั เดยี วกนั เพอื่ กอ่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คี ลดความขดั แยง้ และอยรู่ ว่ มกนั อยา่ ง สันติสุข ซึ่งมีความขัดแย้งทางศาสนา และสังคมมายาวนานจนถึงปัจจุบันภาพเหล่าน้ีนอกจากจะเป็นเรื่องเล่าบันทึกทาง ประวัติศาสตร์ของเมืองสงขลาในอดีตแล้วยังแฝงนัยท่ีเกี่ยวข้องกับค่านิยม ความเชื่อของประเพณีวัฒนธรรม และปริศนา ธรรม ซงึ่ ชา่ งนา มาวาดไวด้ ว้ ยกนั โดยใหค้ วามสา คญั เทา่ เทยี มกนั เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเปน็ อนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั ในสงั คมในชว่ งสมยั รัชกาลท่ี 4 ดังน้ี
ไตรลักษณ์: กํารฝังศพแบบจีน (ฮวงซุ้ย)
การประกอบพิธีฝังศพแบบจีนหรือที่เรียกว่าการสร้างฮวงซุ้ย นอกจากจะเป็นพิธีกรรมเนื่องจากความตายที่ ลกู หลานชาวจนี จะตอ้ งปฏบิ ตั ติ อ่ ผลู้ ว่ งลบั แลว้ ยงั เปน็ การแสดงความกตญั ญกู ตเวทตี อ่ บรรพบรุ ษุ อกี ดว้ ย ชาวจนี มคี วามเชอื่ สืบต่อกัน มาว่าการเลือกทาเลฮวงซุ้ยท่ีดีมีผลต่อความเจริญงอกงามของชีวิตลูกหลานและวงศ์ตระกูล เน่ืองจากสงขลา มีชาวจีนอาศัยอยู่เป็นจานวนมาก ทั้งเจ้าเมืองสงขลาเองก็สืบเชื้อสายมาจากชาวจีน ทาให้วัฒนธรรมหลาย ๆ อย่างของ ชาวจีนได้รับการปลูกฝังและเจริญงอกงามข้ึนในเมืองสงขลา จะปรากฏภาพผนังด้านหน้าพระประธาน เป็นการแทรกภาพ คนจนี 2 คน สวมชดุ ยาวสขี าวไวผ้ มเปยี และสวมหมวกแบบขนุ นางจนี กา ลงั ทา ความเคารพตอ่ ฮวงซยุ้ หรอื หลมุ ฝงั ศพแบบจนี ต้ังอยู่บนเนินเขา ด้านหน้าจะมีแผ่นป้ายสีแดงเขียนตัวอักษรภาษาจีนประดับอยู่มีต้นไม้ลักษณะคล้ายต้นอ้อหรือกกน้า หรือต้นไม้ที่ขึ้นริมน้าอยู่ใกล้ ๆ ถัดมาด้านหลังจะมีบ้านยกสูงหลังเล็ก ๆ เขียนตัวอักษรจีนด้านหน้า ซ่ึงสันนิษฐานว่าอาจจะ เป็นศาลเจ้าปุนเถ่ากง ซ่ึงเป็นเทพเจ้าที่เก่าแก่ท่ีเคารพนับถือมากของคนจีนในเมืองสงขลา (ภาพท่ี 2-30)
ภําพที่ 2-30 ภาพการฝังศพแบบจีน (ฮวงซุ้ย)
       74
          



























































































   82   83   84   85   86