Page 68 - SMM 01-2
P. 68
SMM 01-2 วิธีการมาตรฐานสําาหรับเครื่องมือแพทย์
4.3) ค่าความไม่แน่นอนของการอ่านผลการวัด พิจารณาจากความสามารถที่ดี ที่ีสุดในการอ่านค่าจากเคร่ืองมือวัด การกระจายข้อมูลเป็นแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า (Rectangular Distribution)
ตัวอย่าง ความสามารถในการอ่านระดับความดันเสียงคือ 0.1 dB การ กระจายตัวของข้อมูลเป็นแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า จึงหารด้วย 2
ดังน้ัน
uSPL_ACC = 0.1 = 0.0289 dB 23
4.4) ค่าความไม่แน่นอนเน่ืองจากอุณหภูมิแวดล้อม พิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ์ อุณหภูมิ (Temperature Coefficient) ซึ่งถูกระบุไว้ในใบรายงานผลการสอบ เทียบไมโครโฟนมาตรฐาน หรือหาข้อมูลจากผู้ผลิต โดยจะประเมินเป็นค่าเบี่ยงเบน ของอุณหภูมิขณะที่ทําาการวัดจากอุณหภูมิอ้างอิง (Reference Temperature) คือ 23°C นอกจากนี้จะต้องพิจารณาองค์ประกอบอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้องร่วมด้วย โดยสรุปค่าความไม่แน่นอนเน่ืองจากอุณหภูมิ มีส่วนประกอบ ดังนี้
- ความเบ่ียงเบนของอุณหภูมิขณะท่ีทําาการวัดจากอุณหภูมิอ้างอิง (23°C) (uSPL_T_DT) พิจารณาจากอุณหภูมิขณะท่ีทําาการวัด หรืออาจจะใช้ค่า เบี่ยงเบนสูงสุดของอุณหภูมิท่ีห้องปฏิบัติการควบคุม
- ความถูกต้องของค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิ (uSPL_T_Coef) ข้อมูลสามารถ หาได้จากผู้ผลิต
- ความถูกต้องของเครื่องมือวัดอุณหภูมิ (uSPL_T_ACC) พิจารณาจากคุณสมบัติ ทางเทคนิคของเคร่ืองมือ
- ความละเอียดของส่วนแสดงค่าอุณหภูมิของเครื่องวัดอุณหภูมิ (uSPL_T_Res)
60 วิธีการสอบเทียบเคร่ืองตรวจสมรรถภาพการได้ยิน แบบนําาเสียงผ่านอากาศ ใช้ร่วมกับหูฟังชนิดวางบนใบหู