Page 69 - SMM 01-2
P. 69

วิธีการมาตรฐานสําาหรับเครื่องมือแพทย์ SMM 01-2
ค่าความไม่แน่นอนเนื่องจากอุณหภูมิแวดล้อม เป็นการกระจายข้อมูลแบบ สี่เหลี่ยมผืนผ้า (Rectangular Distribution)
ตัวอย่างการประเมินค่าความไม่แน่นอน เหมือนกันกับความไม่แน่นอน ของการสอบเทียบระดับความดันเสียง หัวข้อ 2.4
4.5) ค่าความไม่แน่นอนเนื่องจากความดันบรรยากาศพิจารณาจากค่าสัมประสิทธ์ิ ความดัน (Pressure Coefficient) ซ่ึงถูกระบุไว้ในใบรายงานผลการสอบเทียบ ไมโครโฟนมาตรฐาน หรือหาข้อมูลจากผู้ผลิต โดยจะประเมินเป็นค่าเบี่ยงเบนของ ความดันบรรยากาศขณะที่ทําาการวัดจากความดันอ้างอิง (Reference Pressure) คือ 101.32 kPa นอกจากนี้จะต้องพิจารณาองค์ประกอบอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องร่วม ด้วย โดยสรุปค่าความไม่แน่นอนเนื่องจากความดัน มีส่วนประกอบดังน้ี
- ความเบี่ยงเบนของความดันบรรยากาศขณะท่ีทําาการวัดจาก ความดันบรรยายกาศอ้างอิง (101.32 kPa) (uSPL_P_DT) พิจารณาจาก ความดันบรรยากาศขณะที่ทําาการวัด หรืออาจจะใช้ค่าเบี่ยงเบนสูงสุด
ของความดันบรรยากาศที่ห้องปฏิบัติการควบคุม
- ความถูกต้องของค่าสัมประสิทธิ์ความดัน (uSPL_P_Coef) ข้อมูลสามารถหาได้
จากผู้ผลิต
- ความถกู ตอ้ งของเครอ่ื งมอื วดั ความดนั (uSPL_P_ACC) พจิ ารณาจากคณุ สมบตั ิ
ทางเทคนิคของเคร่ืองมือ
- ความละเอียดของส่วนแสดงค่าความดันบรรยากาศของเครื่องวัดความดัน
(uSPL_P_Res)
ค่าความไม่แน่นอนเน่ืองจากความดันบรรยากาศ เป็นการกระจายข้อมูล
แบบส่ีเหลี่ยมผืนผ้า (Rectangular Distribution) ตัวอย่างการประเมินค่าความไม่แน่นอน เหมือนกันกับความไม่แน่นอน
ของการสอบเทียบระดับความดันเสียง หัวข้อ 2.5
วิธีการสอบเทียบเครื่องตรวจสมรรถภาพการได้ยิน 61 แบบนําาเสียงผ่านอากาศ ใช้ร่วมกับหูฟังชนิดวางบนใบหู



















































































   67   68   69   70   71