Page 66 - SMM 01-3
P. 66
SMM 01-3 วิธีการมาตรฐานสาหรับเครื่องมือแพทย์
4.4) ค่าความไม่แน่นอนเนื่องจากอุณหภูมิแวดล้อม พิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ์ อุณหภูมิ (Temperature Coefficient) ซึ่งถูกระบุไว้ในใบรายงานผลการสอบ เทียบไมโครโฟนมาตรฐาน หรือหาข้อมูลจากผู้ผลิต โดยจะประเมินเป็นค่าเบ่ียง เบนของอุณหภูมิขณะที่ทาการวัดจากอุณหภูมิอ้างอิง (Reference Temperature) คือ 23°C นอกจากน้ีจะต้องพิจารณาองค์ประกอบอ่ืนๆที่เกี่ยวข้องร่วมด้วย โดย สรุปค่าความไม่แน่นอนเนื่องจากอุณหภูมิ มีส่วนประกอบดังนี้
- ความเบี่ยงเบนของอุณหภูมิขณะท่ีทาการวัดจากอุณหภูมิอ้างอิง (23°C) (uSPL_T_DT) พจิ ารณาจากอณุ หภมู ขิ ณะทที่ า การวดั หรอื อาจจะใชค้ า่ เบยี่ งเบน
สูงสุดของอุณหภูมิที่ห้องปฏิบัติการควบคุม
- ความถูกต้องของค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิ (uSPL_T_Coef) ข้อมูลสามารถหา
ได้จากผู้ผลิต
- ความถูกต้องของเครื่องมือวัดอุณหภูมิ(uSPL_T_ACC)พิจารณาจาคุณสมบัติ
ทางเทคนิคของเคร่ืองมือ
- ความละเอยี ดของสว่ นแสดงคา่ อณุ หภมู ขิ องเครอื่ งวดั อณุ หภมู ิ (uSPL_T_Res)
ค่าความไม่แน่นอนเนื่องจากอุณหภูมิแวดล้อมเป็นการกระจายข้อมูลแบบ สี่เหลี่ยมผืนผ้า (Rectangular Distribution)
ตัวอย่างการประเมินค่าความไม่แน่นอน เหมือนกันกับความไม่แน่นอน ของการสอบเทียบระดับความดันเสียง หัวข้อ 2.4
4.5) ค่าความไม่แน่นอนเนื่องจากความดันบรรยากาศ พิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ์ ความดัน (Pressure Coefficient) ซ่ึงถูกระบุไว้ในใบรายงานผลการสอบเทียบ ไมโครโฟนมาตรฐาน หรือหาข้อมูลจากผู้ผลิต โดยจะประเมินเป็นค่าเบ่ียงเบนของ ความดันบรรยากาศขณะที่ทาการวัดจากความดันอ้างอิง (Reference Pressure) คือ 101.32 kPa นอกจากนี้จะต้องพิจารณาองค์ประกอบอ่ืนๆท่ีเกี่ยวข้องร่วมด้วย โดยสรุปค่าความไม่แน่นอนเน่ืองจากความดัน มีส่วนประกอบดังนี้
58 วิธีการสอบเทียบเคร่ืองตรวจสมรรถภาพการได้ยิน แบบนาํา เสียงผ่่านอากาศ ใช้้ร่วมกับหููฟัังช้นิดใส่ในช้่องหูู