Page 67 - SMM 01-3
P. 67

วิธีการมาตรฐานสาหรับเครื่องมือแพทย์ SMM 01-3
- ความเบ่ียงเบนของความดันบรรยากาศขณะท่ีทาการวัดจากความดัน บรรยายกาศอ้างอิง (101.32 kPa) (uSPL_P_DT) พิจารณาจากความดัน บรรยากาศขณะทท่ี า การวดั หรอื อาจจะใชค้ า่ เบย่ี งเบนสงู สดุ ของความดนั บรรยากาศที่ห้องปฏิบัติการควบคุม
- ความถกู ตอ้ งของคา่ สมั ประสทิ ธคิ์ วามดนั (uSPL_P_Coef) ขอ้ มลู สามารถหาได้ จากผู้ผลิต
- ความถกู ตอ้ งของเครอ่ื งมอื วดั ความดนั (uSPL_P_ACC)พจิ ารณาจากคณุ สมบตั ิ ทางเทคนิคของเครื่องมือ
- ความละเอยี ดของสว่ นแสดงคา่ ความดนั บรรยากาศของเครอ่ื งวดั ความดนั
(uSPL_P_Res)
คา่ ความไมแ่ นน่ อนเนอื่ งจากความดนั บรรยากาศเปน็ การกระจายขอ้ มลู แบบ
ส่ีเหลี่ยมผืนผ้า (Rectangular Distribution) ตัวอย่างการประเมินค่าความไม่แน่นอน เหมือนกันกับความไม่แน่นอนของ
การสอบเทียบระดับความดันเสียง หัวข้อ 2.5
นาค่าความไม่แน่นอนมาตรฐาน (Standard Uncertainty) ที่ได้จากแหล่ง
ความไม่แน่นอนทั้งหมด มารวมกัน เรียกผลรวมนี้ว่า ความไม่แน่นอนมาตรฐานรวม (Combined Standard Uncertainty) สามารถคานวณได้จากสมการ ดังน้ี
 uC =
uC =
uC =
u2A + u2SPL_Acc + u2SPL_Res + u2SPL_T + U2SPL_P
0.03332 + 0.28872 + 0.02892 + 0.002492 + 0.00472
0.2921 dB
 หาคา่ Effective Degree of Freedom (νeff) เพอื่ นา ไปหาคา่ k (Coverage Factor) ด้วยการเปิดตาราง t-student โดยพิจารณาจากระดับความเช่ือม่ัน
วิธีการสอบเทียบเครื่องตรวจสมรรถภาพการได้ยิน 59 แบบนําาเสียงผ่่านอากาศ ใช้้ร่วมกับหููฟัังช้นิดใส่ในช้่องหูู
















































































   65   66   67   68   69