Page 45 - MotoGP
P. 45
SHARP ที่ขึ้นชื่อได้ว่าเป็นมาตรฐานที่สูงถึงระดับ
ของนักแข่ง ห้าดาวกันเลยทีเดียว SHARP เป็นมาตรฐานการรับรองของ
กรมการขนส่งของประเทศอังกฤษ ซึ่งจะเป็นการทดสอบ
จริงทั้งหมด การทดลองจะแตกต่างจากมาตรฐานอื่นๆ โดย
การสุ่มเลือกซื้อหมวก หลากหลายยี่ห้อ หลากหลายรุ่นตาม
ท้องตลาด และจะนำามาทดสอบโดยทดสอบกระแทกถึง 32 SNELL Memorial Foundation เป็นองค์กรที่ตั้งขึ้น
ครั้งต่อหมวก 1 ใบ บนพื้นผิวเรียบ และพื้นผิวแบบแหลม โดยไม่ได้ หวังผลกำาไรทางการค้า และความปลอดภัยที่ได้
ทดลองตามมุมกระแทกต่างๆ ที่จำาลองมาจาก อุบัติเหตุจริง รับมาตรฐานเป็นครั้งแรกถูกนำามาใช้ในสนามแข่ง เมื่อปี ค.ศ.
การทดสอบจึงมีระดับความเชื่อถือสูง เพราะเป็นการทดสอบ 1959. โดย Snell เองนั้นได้ทำาการทดสอบหมวกทุกชนิด
หมวกที่วางจำาหน่ายจริงๆ เพื่อให้ได้มาตรฐานที่ปลอดภัยที่สุด ไม่ว่าจะเป็นหมวกกันน็
อกสำาหรับ motorcyc, จักรยาน, Rollerblad , สเก๊ตบอร์ด ,
Snowboarding , สกี รวมไปถึง Kart Racing ไม่ได้เฉพาะจง
เจาะว่าต้องใช้วัตถุดิบอะไรในการทำาหมวกกันน็อก (ปัจจุบัน
มีวัตถุดิบอยู่ 4 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ ABS plastic, Fiberglass,
Polycarbonate, และ Carbon Fiber & Carbon Kevlar)
วิธีการทดสอบหมวกกันน็อคของ Snell มาตรฐาน
SNELL จะปรับเปลี่ยนใหม่ทุก 5 ปี และแต่ละครั้งจะเข้ม
งวดขึ้นด้วย ผู้ผลิตหมวกกันน็อคจึงต้องปรับปรุงวิธีผลิตให้
ขอบคุณภาพจาก https://pantip.com/topic/30917063 ได้มาตรฐาน ซึ่งหากไม่ผ่าน ก็อาจสรุปได้เลยว่า ไม่ควรยื่น
ในขณะที่มาตรฐานของ ECC ขอคำารับรองมาตรฐานจาก SNELL การปรับมาตรฐานให้สูง
จะกำาหนด การทดสอบความเร็วการ ขึ้นทุก 5 ปีนี้สร้างความกดดันให้กับผู้ผลิตมากพอสมควร
กระแทกหมวกไว้ที่ 7.5 เมตร/วินาที แต่ ผู้ผลิตที่ต้องการคำารับรองมาตรฐานจาก SNELL จะ
มาตรฐาน sharp จะทดสอบความเร็ว ส่งตัวอย่างสินค้า (ทุกขนาดในแต่ละรุ่นและหลายชิ้นในแต่ละ
ทั้งหมด 3 ครั้งคือ 8.5 m/s, 7.5 m/s และ ขนาด) ไปรับการทดสอบ สินค้าที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานจะได้
6 m/s ซึ่งจะมีทั้งความเร็วสูงกว่าและ รับ SNELL License และ SNELL Label และ SNELL Label
ต่ำากว่ามาตรฐาน ECC โดยที่ใส่หมวก จะถูกนำา ไปปิดที่สินค้าทุกชนิด
ไว้ในหัวจำาลองที่ติดตั้ง sensor วัดแรง
กระแทกไว้
ในขณะที่มาตรฐาน ECC จะกำาหนด การทดสอบ
ความเร็วการกระแทกหมวกไว้ที่ 7.5 เมตร/วินาที แต่
มาตรฐาน sharp จะทดสอบความเร็วทั้งหมด 3 ครั้งคือ 8.5
m/s, 7.5 m/s และ 6 m/s ซึ่งจะมีทั้งความเร็วสูงกว่าและต่ำา
กว่ามาตรฐาน ECC โดยที่ใส่หมวกไว้ในหัวจำาลองที่ติดตั้ง
sensor วัดแรงกระแทกไว้ สำาหรับมาตรฐานสุดท้ายของไทยกันดูบ้างนั้นก็คือ
สิ่งที่ต่างจากมาตรฐานอื่นๆ อีก คือการให้เรทติ้ง มอก. ย่อมาจาก มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ซึ่งหมาย
1-5 ดาว และรายละเอียดสำาหรับการวัดแรงกระแทก เช่น ถึงข้อกำาหนดที่ สำานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
กระแทกด้านหน้า ด้านข้าง ด้านหลัง ซึ่งมาตรฐานอื่นๆ จะ (สมอ.) ได้กำาหนดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้ผลิตสินค้า เพื่อ
บอกแค่ว่า ผ่านหรือไม่ผ่านเท่านั้น และในแต่ละจุดจะโดนวัด ให้ผลิตสินค้าให้มีคุณภาพและเหมาะสมกับการใช้งาน ซึ่ง
แรงกระแทกไว้ แรงที่ส่งผ่านสมอง ซึ่งค่า g ยิ่งน้อย หมาย ของที่ขายในประเทศไทยถูกบังคับให้ต้องผ่าน มอก. เพื่อ
ถึงว่า แรงที่ส่งผ่านไปยังสมองก็น้อยลง คุ้มครองผู้บริโภคนั้นเอง
MotoGP 45