Page 9 - Social 022 Thanyaret
P. 9
2.แบ่งแยกประเภทของกฎหมายตามลักษณะของความสัมพันธ์ของคู่กรณี ได้แก่
กฎหมายเอกชน เป็นกฎหมายที่ก าหนดถึงความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกันเอง ซึ่งก าหนดถึงสิทธิและ
หน้าที่ของแต่ละเอกชน รวมไปถึงสิทธิและหน้าที่ของเอกชนที่มีต่อเอกชนด้วยกันด้วย กฎหมายเอกชนก็ได้แก่
กฎหมายแพ่ง และกฎหมายพาณิชย์ กฎหมายแพ่งจะก าหนดถึงสิทธิและหน้าที่รวมไปถึงความสัมพันธ์ ของ
บุคคลตั้งแต่เกิดจนตาย ส่วนกฎหมายพาณิชย์ก็จะก าหนดสิทธิและหน้าที่ระหว่างบุคคลที่เข้ามามีความสัมพันธ์
ทางเศรษฐกิจต่อกัน เช่น ก าหนดถึงสิทธิแบะหน้าที่ระหว่างคู่สัญญาซื้อขาย คู่สัญญากู้ยืมเงิน ฯลฯ
กฎหมายมหาชน เป็นกฎหมายที่ใช้บังคับความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ หน่วยง านของรัฐ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ด้วยกัน หรือความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ หน่วยงานของรัฐ หรือเจ้าที่ของรัฐกับประชาชน เช่น รัฐธรรมนูญ
กฎหมายปกครอง กฎหมายอาญา พระธรรมนูญศาลยุติธรรม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งกฎหมายระหว่างประเทศ เป็ นกฎหมายที่ก าหนดถึงกฎเกณฑ์
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เนื่องจากประเทศต่างๆในโลกต้องมีการติดต่อมีความสัมพันธ์กับประเทศอื่นๆ
ทั้งในการค้า เศรษฐกิจ และการประสานงานช่วยเหลือในเรื่องต่างๆ ซึ่งกฎหมายระหว่างประเทศอาจมาในรูป
ของสนธิสัญญา จารีตประเพณีหรือความตกลงกันระห ว่างประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศอาจไม่มีสภาพ
บังคับที่ชัดเจน แต่ก็ถือเป็นกฎหมายได้ เนื่องจากเป็นกฎเกณฑ์ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อใช้เป็นเครื่องมือส าหรับ
ด าเนินการให้เป็นไปตามเป้าหมายอย่างหนึ่งอย่างใดของรัฐ เช่นกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา ฯลฯ