Page 3 - วรพัฒน์สารฉบับที่ 20
P. 3

การเรียนรูแบบโครงการ (Project Approach)




           วรพัฒนสารฉบับนี่ ทางแผนกอนุบาลจะขอนำเสนอกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงการ
    หรือที่เรียกกันวา (Project Approach) ซึ่งในแผนกอนุบาลโรงเรียนวรพัฒนไดมีการ

    จัดกิจกรรมการเรียนรูมาตลอดระยะเวลาเกือบ 10 ป และไดมีการพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ กอน
    อื่นตองขออธิบายถึงความหมายและความสำคัญของการเรียนรูในรูปแบบนี้กอนวามีความ

    สำคัญอยางไร
           การเรียนรูแบบโครงการ (Project Approach) คือ การที่เด็กไดศึกษาเรื่องใด
    เรื่องหนึ่งอยางลุมลึกลงไปในรายละเอียดของเรื่องนั้น ดวยกระบวนการคิดและแกปญหาของ

    เด็กเองจนพบคำตอบที่ตองการ เรื่องที่ศึกษากำหนดขึ้นโดยตัวเด็กเอง ประเด็นที่ศึกษาเกิด
    จากขอสงสัยหรือปญหาของเด็กเอง เด็กไดมีประสบการณตรงกับเรื่องที่ศึกษาโดยการ
                                                                                             คุณครูชนกชนม   ผูประสิทธิ์
    สังเกตอยางใกลชิดจากแหลงเรียนรูเบื้องตน ระยะเวลาการเรียนรูยาวนานเพียงพอตาม         รองผูอำนวยการโรงเรียนวรพัฒน
    ความสนใจของเด็ก เด็กจะไดประสบการณ ความรูใหมที่ไดจากกระบวนการศึกษาและการ
    แกปญหาของตนเอง ไดนำเสนอกระบวนการเรียนรู และผลงานตอคนอื่น โดยที่คุณครูไมใชเปนผูถายทอดความรู หรือกำหนด

    กิจกรรมใหเด็กทำ แตเปนผูกระตุนใหเด็กใชภาษาหรือสัญญลักษณอื่น ๆเพื่อจัดระบบความคิด และสนับสนุนใหเด็กใชความรูทักษะ
    ที่มีอยูคิดแกปญหาดวยตัวเอง

         การเรียนรูแบบโครงการ หรือ (Project Approach) แบงออกเปน 3 ระยะ


   ระยะที่ 1  ทบทวนความรูและความสนใจเด็ก

            เด็กและครูจะใชเวลาสวนใหญในการอภิปรายเพื่อเลือกและปรับหัวขอเรื่องที่จะทำการสืบคน หัวเรื่องอาจเสนอโดยเด็ก ครู

     หรือเด็กรวมกับครูเมื่อไดหัวเรื่องแลว ครูเริ่มทำแผนที่ทางความคิด (Mindmap) หรือ ใยแมงมุม (Web) เพื่อระดมความคิดรวม
     กับเด็กในหัวเรื่องนั้น และจัดแสดงแผนที่ทางความคิดที่ทำไวภายในชั้นเรียน ซึ่งขอมูล  ตาง ๆ ที่ไดสามารถใชในการสรุป อภิปราย
     ระหวางทำโครงการและยังสามารถเชื่อมโยงไปยังหัวเรื่องยอยไดอีก นอกจากนี้ในชวงอภิปรายระดมความคิด ครูจะทราบวาเด็กมี

     ประสบการณในหัวเรื่องเพียงใด เด็กจะเสนอประสบการณและแสดงแนวคิดสิ่งที่ตนเขาใจในรูปแบบตาง ๆ ตามความเหมาะสมของวัย
     เชน การเขียนภาพ เลนบทบาทสมมติ การปน ฯลฯ ครูจะเปนผูชวยใหเด็กเสนอคำถามที่ตองการสืบคนหาคำตอบ ครูจะเปนผูกระตุน
     ใหพอแมพูดคุยกับเด็กเกี่ยวกับหัวเรื่องเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ ครูจะชี้แนะวิธี สืบคนเพื่อใหเด็กแตละคนไดทำงานตามศักยภาพ
     โดยใชทักษะพื้นฐานทางการสราง การวาดภาพ ดนตรี และบทบาทสมมุติ


    ระยะที่ 2   ใหโอกาสเด็กคนควาและมีประสบการณใหม

     เปนกิจกรรมที่เด็ก ๆ ไดลงมือปฏิบัติ ประกอบดวยการสืบคนขอมูลตามแหลงขอมูลตาง ๆ ระยะนี้ถือเปนหัวใจของโครงการซึ่งครู
     จะเปนผูจัดหาจัดเตรียมแหลงขอมูลใหเด็กสืบคนไมวาจะเปนของจริง หนังสือ สื่อวัสดุอุปกรณตาง ๆ การออกไปศึกษานอกสถานที่

     หรือเชิญผูเชี่ยวชาญ วิทยากรทองถิ่นเพื่อใหเด็กทำการสืบคนสังเกตอยางใกลชิดและบันทึกสิ่งที่พบเห็นอาจมีการเขียนภาพที่เกิดจาก
     การสังเกต จัดทำกราฟ แผนภูมิไดอะแกรม หรือสรางแบบตาง ๆ สำรวจ คาดคะ มีการอภิปราย เลนบทบาทสมมติเพื่อแสดงความ
     เขาใจในความรูใหมที่ได

   ระยะที่ 3  ประเมิน สะทอนกลับ และแลกเปลี่ยนงานโครงการ


     เปนระยะสรุปโครงการ รวมถึงการเตรียมการเสนอผลงานที่ไดจากการศึกษาในรูปของการจัดแสดง การคนพบ และจัดทำสิ่งตาง ๆ
     สนทนา เลนบทบาทสมมติ หรือจัดนำชมสิ่งที่ไดจากการกอสราง ครูจะจัดใหเด็กไดแลกเปลี่ยนสิ่งที่ตนเรียนรูกับผูอื่น เด็กสามารถชวย
     กันเลาเรื่องการทำโครงการใหผูอื่นฟง โดยจัดแสดงสิ่งที่เปนจุดเดนใหเพื่อนในชั้นเรียนอื่น ครู พอแม ผูปกครอง และ ผูบริหารไดเห็น

     ครูจะชวยเด็กเลือกวัสดุอุปกรณที่จะนำมาแสดง ซึ่งการทำเชนนี้เทากับชวยใหเด็กทบทวนและประเมินโครงการทั้งหมด ครูอาจเสนอให
     เด็กไดจินตนาการความรูใหมที่ไดผานทางศิลปะ ทางละคร สุดทายครูนำความคิดและความสนใจของเด็กไปสูการสรุปโครงการ และอาจ
     นำไปสูหัวเรื่องใหมของโครงการตอไป
   1   2   3   4   5   6   7   8