Page 41 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 41

ห น า  | 41



                         3.  บันเทิงคดี   เปนหนังสือที่แตงเพื่อมุงใหผูอานเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน  อาจจะ
                  แทรกวรรณคดี  บทรอยกรอง  บทละคร  ซึ่งสามารถแตงเปนรอยแกวหรือรอยกรองก็ไดตามความ

                  เหมาะสม ในการพิจารณาเรื่อง บันเทิงคดี ควรพิจารณาในดานตางๆ ดังนี้

                           3.1  โครงเรื่องและเนื้อเรื่องสวนสําคัญของนวนิยาย และเรื่องสั้นคือ การเลาเรื่องโดยเลา

                  วาเปนเรื่องของใคร  เกิดขึ้นที่ไหน  เมื่อไหร  มีความสัมพันธระหวางเหตุการณตางๆ  ในเรื่องและ
                  ระหวางบุคคลในเรื่องเกี่ยวเนื่องกันไปโดยตลอด  มีการสรางความสนใจใหผูอานอยากติดตาม

                  นอกจากนี้เหตุการณที่เกิดขึ้นในเรื่องควรสมจริง และเปนไปอยางสมเหตุสมผล และมีสวนประกอบ

                  ปลีกยอยอื่นๆ เพื่อใหนาติดตาม
                           3.2  การดําเนินเรื่อง สวนสําคัญที่ชวยใหเรื่องนาสนใจชวนติดตามขึ้นอยูกับการดําเนิน

                  เรื่อง การดําเนินเรื่องมีอยูหลายวิธี เชน ดําเนินเรื่องตามลําดับวัย คือ เริ่มตั้งแตตัวละครเกิดจนกระทั่ง

                  ถึงแกกรรมดําเนินเรื่องยอนตน คือ  เลาเหตุการณในตอนทายเสียกอน แลวยอนกลับไปเลาตั้งแตตน
                  จนกระทั่งจบ  เปนตน  ฉากที่ดีตองมีสภาพความเปนจริง  ทั้งสภาพภูมิศาสตร  และประวัติศาสตร

                  นอกจากนี้ยังตองสอดคลองกับเรื่องดวย

                           3.3  ตัวละคร ผูเขียนมีวิธีการแนะนําตัวละครไดหลายวิธี  เชน  ดวยการบรรยายรูปราง
                  ลักษณะของตัวละครเอง ดวยการบรรยายพฤติกรรมของตัวละคร หรือดวยการใหตัวละครสนทนากัน

                  เปนตน การบรรยายลักษณะนิสัยของตัวละครที่ดีนั้น ควรบรรยายอยางสมจริง ตัวละครตัวหนึ่งๆ จะมี

                  ลักษณะนิสัยหลายๆ อยางไมใชดีจนหาที่ติมิได หรือเลวจนไมมีความดีที่จะใหชมเชย ความตองการ

                  ของตัวละครที่ดีควรจะเหมือนคนธรรมดาทั่วๆ ไป เชน มีความรัก ความโกรธ เกลียด หรือตองการ
                  ความสนใจจากผูอื่น เปนตน

                           3.4  แนวคิดของเรื่อง แนวคิดของเรื่องสวนมากผูเขียนจะไมบอกตรงๆ ผูอานจะตองคน

                  เอาเองวาไดแนวคิดอยางไร  ตัวอยางเชนเรื่อง  ลูกชาย  ของศรีบูรพา  ตองการแสดงวา
                  “ลูกผูชายนั้นมีความหมายอยางไร”  จดหมายจากเมืองไทยของโบตั๋นตองการใหเห็นขอดีขอเสียของ

                  คนไทยโดยเฉพาะ “น้ําใจ” ซึ่งไมเหมือนกันกับชาติอื่น เปนตน

                           นวนิยายหรือเรื่องสั้นที่ดีนั้น  ผูอานตองพิจารณาคุณคาที่จะไดจากเรื่องนั้นๆ  ไมทางใดก็

                  ทางหนึ่งดวย
                           3.5  สํานวนภาษา  เปนสิ่งสําคัญมากอยางหนึ่ง  ในการพิจารณาเลือกอานนวนิยายและ

                  เรื่องสั้นผูอานมักจะรูสึกวาตนเองชอบหรือไมชอบสํานวนของนักเขียนคนนั้นคนนี้   แตบางคนก็ไม

                  สามารถบอกวาเพราะเหตุใด สิ่งที่ควรพิจารณาเกี่ยวกับสํานวนภาษาคือสํานวนภาษาของตัวละครใน
                  บทสนทนา ตองสมจริงและเหมาะสมกับตัวละคร ประโยคที่แตกตางควรกะทัดรัด สละสลวย เขาใจ

                  งาย หากเปนประโยคยาวก็ควรเปนสํานวนที่สามารถสรางอารมณ และความรูสึกไดดี
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46